เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2021 นัดชิงชนะเลิศ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2021 นัดชิงชนะเลิศ
รายการเอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2021
วันที่23 พฤศจิกายน ค.ศ. 2021
สนามคิงฟาฮัด อินเตอร์เนชันแนล สเตเดียม, รียาด
ผู้เล่นยอดเยี่ยม
ประจำนัด
Moussa Marega (อัลฮิลาล)
ผู้ตัดสินโมฮัมเหม็ด อับดุลลา ฮัสซัน โมฮาเหม็ด (สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์)[1]
ผู้ชม50,171 คน
สภาพอากาศแจ่มใส
25 องศาเซลเซียส (77 องศาฟาเรนไฮต์)
47% ความชื้นสัมพัทธ์
2020
2022

เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2021 นัดชิงชนะเลิศ เป็นนัดชิงชนะเลิศของ เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2021, ครั้งที่ 40 ของการแข่งขันฟุตบอลสโมสรเอเชียระดับสูงสุดซึ่งจัดขึ้นโดย สมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย (เอเอฟซี), และเป็นครั้งที่ 18 ภายใต้ชื่อปัจจุบัน เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก.

รอบชิงชนะเลิศจะเป็นการตัดสินในนัดเดียวระหว่าง อัลฮิลาล จาก ซาอุดีอาระเบีย และ โพฮัง สตีลเลอส์ จาก เกาหลีใต้. เนื่องจากทั้งสองทีมเป็นทีมที่ประสบความสำเร็จร่วมกันมากที่สุดในเอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก, โดยแต่ละทีมคว้าไปสามสมัย, รอบชิงชนะเลิศจะเป็นทีมที่ประสบความสำเร็จมากที่สุดในการแข่งขัน.

อัลฮิลาล ชนะเอเอฟซีแชมเปียนส์ลีกสมัยที่สี่ของพวกเขาและได้สิทธิ์เข้าเล่นสำหรับ ฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรโลก 2021 ในประเทศสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์.

ทีม[แก้]

ในตารางด้านล่างนี้, รอบชิงชนะเลิศจนถึงปี 2002 จะเป็นยุคสมัย เอเชียนคลับแชมเปียนชิป, นับตั้งแต่ปี 2003 จะเป็นยุคสมัยเอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก.

ทีม โซน การลงสนามรอบชิงชนะเลิศครั้งที่ผ่านมา (ตัวหนาหมายถึงทีมที่ชนะเลิศ)
ซาอุดีอาระเบีย อัลฮิลาล ภาคตะวันตก (โซน: WAFF) 7 (1986[A], 1987[B], 1991, 2000, 2014, 2017, 2019)
เกาหลีใต้ โพฮัง สตีลเลอส์ ภาคตะวันออก (โซน: EAFF) 3 (1997, 1998, 2009)
หมายเหตุ
  1. ^ นัดชิงชนะเลิศปี ค.ศ. 1986 จะลงเล่นในรูปแบบพบกันหมดสี่ทีม, กับ อัลฮิลาล จบในฐานะทีมรองชนะเลิศ.
  2. ^ อัลฮิลาล ไม่สามารถเข้าร่วมในรอบชิงชนะเลิศปี ค.ศ. 1987 และจึงได้รับการประกาศให้เป็นทีมรองชนะเลิศ.

เส้นทางสู่นัดชิงชนะเลิศ[แก้]

หมายเหตุ: ในผลการแข่งขันทั้งหมดด้านล่างนี้, สกอร์ของผู้เข้าชิงชนะเลิศจะได้รับเป็นเลขแรก (H: เหย้า; A: เยือน; *: ลงเล่นในกลุ่มที่มีสนามกลาง).

ซาอุดีอาระเบีย อัลฮิลาล รอบ เกาหลีใต้ โพฮัง สตีลเลอส์
คู่แข่งขัน ผล รอบแบ่งกลุ่ม คู้แข่งขัน ผล
อุซเบกิสถาน เอจีเอ็มเค 2–2 (*) นัดที่ 1 ไทย ราชบุรี มิตรผล 2–0 (*)
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ชะบาบ อัลอะฮ์ลี 0–2 (*) นัดที่ 2 ญี่ปุ่น นาโงยะ แกรมปัส 3–0 (*)
ทาจิกิสถาน อิสติคลอล 3–1 (*) นัดที่ 3 มาเลเซีย โจโฮร์ดารุลตักซิม 4–1 (*)
ทาจิกิสถาน อิสติคลอล 4–1 (*) นัดที่ 4 มาเลเซีย โจโฮร์ดารุลตักซิม 0–2 (*)
อุซเบกิสถาน เอจีเอ็มเค 0–3 (*) นัดที่ 5 ไทย ราชบุรี มิตรผล 0–0 (*)
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ชะบาบ อัลอะฮ์ลี 0–2 (*) นัดที่ 6 ญี่ปุ่น นาโงยะ แกรมปัส 1–1 (*)
กลุ่ม เอ รองชนะเลิศ Final standings กลุ่ม จี รองชนะเลิศ
คู่แข่งขัน ผล รอบแพ้คัดออก คู่แข่งขัน ผล
อิหร่าน เอสเตกลาล 0–2 (A) รอบ 16 ทีมสุดท้าย ญี่ปุ่น เซเรซโซ โอซากะ 0–1 (A)
อิหร่าน เพร์สโพลีส 0–3 (H) รอบก่อนรองชนะเลิศ ญี่ปุ่น นาโงยะ แกรมปัส 3–0 (H)
ซาอุดีอาระเบีย อัลนัศร์ 1–2 (A) รอบรองชนะเลิศ เกาหลีใต้ อุลซันฮุนได 1–1
(ต่อเวลา)
(ดวลลูกโทษ 4–5) (A)

แมตช์[แก้]

อัลฮิลาล
โพฮัง สตีลเลอส์
GK 1 ซาอุดีอาระเบีย Abdullah Al-Mayouf
RB 2 ซาอุดีอาระเบีย Mohammed Al-Breik
CB 20 เกาหลีใต้ Jang Hyun-soo
CB 32 ซาอุดีอาระเบีย Muteb Al-Mufarrij
LB 16 ซาอุดีอาระเบีย Nasser Al-Dawsari
CM 7 ซาอุดีอาระเบีย Salman Al-Faraj (กัปตัน)
CM 28 ซาอุดีอาระเบีย Mohamed Kanno โดนใบเหลือง ใน 83 นาที 83' Substituted off in the 90+4 นาที 90+4'
RW 17 มาลี Moussa Marega โดนใบเหลือง ใน 26 นาที 26'
AM 15 บราซิล Matheus Pereira โดนใบเหลือง ใน 84 นาที 84'
LW 29 ซาอุดีอาระเบีย Salem Al-Dawsari
CF 18 ฝรั่งเศส Bafétimbi Gomis Substituted off in the 85 นาที 85'
ผู้เล่นสำรอง:
GK 31 ซาอุดีอาระเบีย Habib Al-Wotayan
GK 33 ซาอุดีอาระเบีย Abdullah Al-Jadaani
DF 12 ซาอุดีอาระเบีย Yasser Al-Shahrani Substituted on in the 85 minute 85'
DF 23 ซาอุดีอาระเบีย Madallah Al-Olayan
DF 70 ซาอุดีอาระเบีย Mohammed Jahfali Substituted on in the 90+4 minute 90+4'
MF 43 ซาอุดีอาระเบีย Musab Al-Juwayr
MF 56 ซาอุดีอาระเบีย Mohammed Al-Qahtani
MF 88 ซาอุดีอาระเบีย Hamad Al-Yami
FW 11 ซาอุดีอาระเบีย Saleh Al-Shehri
FW 14 ซาอุดีอาระเบีย Abdullah Al-Hamdan
ผู้จัดการทีม:
โปรตุเกส Leonardo Jardim
GK 21 เกาหลีใต้ Lee Jun
RB 32 เกาหลีใต้ Park Seung-wook
CB 13 เกาหลีใต้ Gwon Wan-gyu โดนใบเหลือง ใน 42 นาที 42'
CB 2 ออสเตรเลีย Alex Grant โดนใบเหลือง ใน 20 นาที 20'
LB 10 เกาหลีใต้ Kang Sang-woo (กัปตัน)
CM 17 เกาหลีใต้ Shin Kwang-hoon
CM 57 เกาหลีใต้ Lee Soo-bin Substituted off in the 46 นาที 46'
RW 8 บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา Mario Kvesić Substituted off in the 46 นาที 46'
AM 6 เกาหลีใต้ Sin Jin-ho
LW 77 เกาหลีใต้ Lim Sang-hyub โดนใบเหลือง ใน 67 นาที 67'
CF 82 โคลอมเบีย Manuel Palacios
ผู้เล่นสำรอง:
GK 41 เกาหลีใต้ Cho Sung-hoon
DF 3 เกาหลีใต้ Lee Kwang-jun
DF 4 เกาหลีใต้ Jeon Min-gwang โดนใบเหลือง ใน 53 นาที 53' Substituted on in the 46 minute 46'
DF 30 เกาหลีใต้ Kim Ryun-seong
MF 14 เกาหลีใต้ Oh Beom-seok
MF 37 เกาหลีใต้ Kim Ho-nam
MF 38 เกาหลีใต้ Kim Jin-hyun
MF 79 เกาหลีใต้ Go Young-joon Substituted on in the 46 minute 46' Substituted off in the 81 นาที 81'
FW 20 เกาหลีใต้ Lee Ho-jae Substituted on in the 81 minute 81'
FW 25 เกาหลีใต้ Kim Seong-ju
ผู้จัดการทีม:
เกาหลีใต้ Kim Gi-dong

ผู้เล่นยอดเยี่ยมประจำนัด:
Moussa Marega (อัลฮิลาล)

ผู้ช่วยผู้ตัดสิน:[1]
Mohamed Al-Hammadi (สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์)
Hasan Al-Mahri (สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์)
ผู้ตัดสินที่สี่:[1]
Adel Al-Naqbi (สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์)
ผู้ช่วยผู้ตัดสินวิดีโอ:[1]
Ammar Al-Jeneibi (สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์)
ผู้ช่วยผู้ตัดสินจากการใช้วิดีโอช่วยตัดสิน:[1]
Omar Mohamed Al-Ali (สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์)
Hanna Hattab (ซีเรีย)

กฏ-กติกา[2]

  • 90 นาที.
  • 30 นาทีของ การต่อเวลาพิเศษถ้าเสมอกัน.
  • การดวลลูกโทษ ถ้าผลการแข่งขันยังเสมอกันหลังต่อเวลาพิเศษ.
  • มีชื่อผู้เล่นสำรองสิบคน, ซึ่งอาจจะใช้ได้ถึงห้าคน, กับอนุญาตเปลี่ยนตัวคนที่หกในช่วงต่อเวลาพิเศษ.[note 1]

หมายเหตุ[แก้]

  1. แต่ละทีมจะได้รับสิทธิ์สามครั้งที่จะได้เปลี่ยนตัวผู้เล่น, กับโอกาสครั้งที่สี่ในช่วงต่อเวลาพิเศษ, ไม่นับรวมการเปลี่ยนตัวผู้เล่นที่เกิดชึ้นในช่วงพักครึ่งแรก, ก่อนที่จะเริ่มต้นของช่วงต่อเวลาพิเศษและช่วงพักครึ่งเวลาแรกในการต่อเวลาพิเศษ.

อ้างอิง[แก้]

  1. 1.0 1.1 1.2 1.3 1.4 "طاقم دولي إماراتي يُدير نهائي دوري أبطال آسيا 2021". UAE Football Confederation. 29 October 2021.
  2. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ regulations

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]