เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2018 นัดชิงชนะเลิศ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2018 นัดชิงชนะเลิศ
รายการเอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2018
รวมผลสองนัด
เลกแรก
วันที่3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2561
สนามสนามฟุตบอลคาชิมะ, คาชิมะ
ผู้เล่นยอดเยี่ยม
ประจำนัด
แลอู ซิลวา (คาชิมะ แอนต์เลอส์)[1]
ผู้ตัดสินหม่า หนิง (จีน)[1]
ผู้ชม35,022 คน[1]
สภาพอากาศท้องฟ้าสดใส
15 องศาเซลเซียส (59 องศาฟาเรนไฮต์)[1]
เลกที่สอง
วันที่10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2561
สนามสนามกีฬาแอซอดี, เตหะราน
ผู้เล่นยอดเยี่ยม
ประจำนัด
กอดวิน เมนชา (เปอร์เซโปลิส)[2]
ผู้ตัดสินอะห์มัด อัลกัฟ (โอมาน)[2]
ผู้ชม100,000 คน[2]
สภาพอากาศมีลมแรง
10 องศาเซลเซียส (50 องศาฟาเรนไฮต์)[2]
2017
2019

การแข่งขัน เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2018 นัดชิงชนะเลิศ เป็นการแข่งขันนัดชิงชนะเลิศของ เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2018, เป็นครั้งที่ 37 ของทัวร์นาเมนต์ฟุตบอลระดับสูงสุดของสโมสรในทวีปเอเชียจัดตั้งขึ้นโดย สมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย (เอเอฟซี), และเป็นครั้งที่ 16 ภายใต้ชื่อ เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก.

รอบชิงชนะเลิศจะถูกตัดสินกันในสองนัดรูปแบบเหย้าและเยือนระหว่างทีมจากญี่ปุ่น คาชิมะ แอนต์เลอส์ และทีมจากอิหร่าน เพร์สโพลีส. เลกแรกจะเป็นเจ้าบ้านโดยคาชิมะ แอนต์เลอส์ ที่ สนามฟุตบอลคาชิมะ ในคาชิมะ เมื่อวันที่ 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2561, ในขณะที่เลกสองจะเป็นเจ้าบ้านโดย เปอร์เซโปลิส ที่ สนามกีฬาอะซาดี ในเมือง เตหะราน เมื่อวันที่ 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2561. ทีมชนะเลิศจะได้สิทธิ์ในการเป็นตัวแทนของ เอเอฟซี ในการแข่งขัน ฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรโลก 2018, และได้ผ่านเข้าสู่รอบก่อนรองชนะเลิศ.[3]

คาชิมะ แอนต์เลอส์ ยัดเยียดความพ่ายแพ้ให้กับ เพร์สโพลีส 2–0 หลังรวมผลสองนัดส่งผลให้พวกเขาคว้าแชมป์เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีกได้สำเร็จเป็นสมัยที่สอง.

ทีมที่ผ่านเข้ารอบ[แก้]

ทีม โซน ปีที่ผ่านมาที่ผ่านเข้ารอบชิงชนะเลิศ (ตัวหนา หมายถึง ชนะเลิศ)
ญี่ปุ่น คาชิมะ แอนต์เลอส์ ตะวันออก (โซน: EAFF) ไม่เคย
อิหร่าน เพร์สโพลีส ตะวันตก (โซน: CAFA) ไม่เคย

เส้นทางสู่นัดชิงชนะเลิศ[แก้]

หมายเหตุ: (H: เหย้า; A: เยือน)

ญี่ปุ่น คาชิมะ แอนต์เลอส์ รอบ อิหร่าน เพร์สโพลีส
คู่แข่งขัน ผลการแข่งขัน รอบแบ่งกลุ่ม คู่แข่งขัน ผลการแข่งขัน
จีน เซี่ยงไฮ้ เสิ่นหัว 1–1 (H) นัดที่ 1 อุซเบกิสถาน นาซาฟ ควาร์ชี 3–0 (H)
เกาหลีใต้ ซูวอน ซัมซุง บลูวิงส์ 2–1 (A) นัดที่ 2 ประเทศกาตาร์ อัล-ซาดด์ 1–3 (A)
ออสเตรเลีย ซิดนีย์ เอฟซี 2–0 (A) นัดที่ 3 สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ อัล-วาซล์ 2–0 (H)
ออสเตรเลีย ซิดนีย์ เอฟซี 1–1 (H) นัดที่ 4 สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ อัล-วาซล์ 1–0 (A)
จีน เซี่ยงไฮ้ เสิ่นหัว 2–2 (A) นัดที่ 5 อุซเบกิสถาน นาซาฟ ควาร์ชี 0–0 (A)
เกาหลีใต้ ซูวอน ซัมซุง บลูวิงส์ 0–1 (H) นัดที่ 6 ประเทศกาตาร์ อัล-ซาดด์ 1–0 (H)
รองชนะเลิศ กลุ่ม เอช
อันดับ ทีม เล่น คะแนน
1 เกาหลีใต้ ซูซอน ซัมซุง บลูวิงส์ 6 10
2 ญี่ปุ่น คะชิมะ แอนท์เลอร์ส 6 9
3 ออสเตรเลีย ซิดนีย์ เอฟซี 6 6
4 จีน เซี่ยงไฮ้ เสิ่นหัว 6 5
แหล่งที่มา : เอเอฟซี
ตารางคะแนน ชนะเลิศ กลุ่ม เอฟ
อันดับ ทีม เล่น คะแนน
1 อิหร่าน เพร์สโพลีส 6 13
2 ประเทศกาตาร์ อัล-ซาดด์ 6 12
3 อุซเบกิสถาน นาซาฟ ควาร์ชี 6 10
4 สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ อัล-วาซล์ 6 0
แหล่งที่มา : เอเอฟซี
คู่แข่งขัน รวมผลสองนัด นัดแรก นัดสอง รอบแพ้คัดออก คู่แข่งขัน รวมผลสองนัด นัดแรก นัดสอง
จีน เซี่ยงไฮ้ เอสไอพีจี 4–3 3–1 (H) 1–2 (A) รอบ 16 ทีมสุดท้าย สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ อัล-จาซีรา 4–4 () 2–3 (A) 2–1 (H)
จีน เทียนจิน ฉวนเจียน 5–0 2–0 (H) 3–0 (A) รอบก่อนรองชนะเลิศ ประเทศกาตาร์ อัล-ดูฮาอิล 3–2 0–1 (A) 3–1 (H)
เกาหลีใต้ ซูวอน ซัมซุง บลูวิงส์ 6–5 3–2 (H) 3–3 (A) รอบรองชนะเลิศ ประเทศกาตาร์ อัล-ซาดด์ 2–1 1–0 (A) 1–1 (H)

แมตข์[แก้]

เลกแรก[แก้]

รายละเอียด[แก้]

คาชิมะ แอนต์เลอส์
เพร์สโพลีส
GK 1 เกาหลีใต้ Kwoun Sun-tae
RB 22 ญี่ปุ่น ดาอิโกะ นิชิ
CB 16 ญี่ปุ่น ชูโตะ ยะมะโมโตะ
CB 3 ญี่ปุ่น เกน โชจิ (กัปตัน)
LB 35 เกาหลีใต้ Jung Seung-hyun
RM 20 ญี่ปุ่น เคนโต มิซาโอะ
CM 8 ญี่ปุ่น โชมะ โดอิ Substituted off in the 80 นาที 80'
CM 4 บราซิล แลอู ซิลวา
LM 18 บราซิล แซร์ฌิญญู Substituted off in the 90+2 นาที 90+2'
CF 9 ญี่ปุ่น ยูมะ ซูซุกิ
CF 30 ญี่ปุ่น ฮิโรกิ อาเบะ โดนใบเหลือง ใน 11 นาที 11' Substituted off in the 68 นาที 68'
ผู้เล่นสำรอง:
GK 21 ญี่ปุ่น Hitoshi Sogahata
DF 32 ญี่ปุ่น Koki Anzai Substituted on in the 68 minute 68'
DF 39 ญี่ปุ่น Tomoya Inukai
MF 6 ญี่ปุ่น Ryota Nagaki Substituted on in the 80 minute 80'
MF 25 ญี่ปุ่น Yasushi Endo
MF 40 ญี่ปุ่น Mitsuo Ogasawara
FW 14 ญี่ปุ่น Takeshi Kanamori Substituted on in the 90+2 minute 90+2'
ผู้จัดการทีม:
ญี่ปุ่น โก โออิวะ
GK 1 อิหร่าน Alireza Beiranvand
RB 69 อิหร่าน Shayan Mosleh
CB 4 อิหร่าน Jalal Hosseini (กัปตัน)
CB 3 อิหร่าน Shoja' Khalilzadeh โดนใบเหลือง ใน 72 นาที 72'
LB 15 อิหร่าน Mohammad Ansari
RM 88 อิหร่าน Siamak Nemati Yellow card 62' Yellow-red card 90+3'
CM 11 อิหร่าน Kamal Kamyabinia
CM 5 อิรัก Bashar Resan
LM 8 อิหร่าน Ahmad Nourollahi Substituted off in the 70 นาที 70'
CF 70 อิหร่าน Ali Alipour
CF 90 ไนจีเรีย Godwin Mensha
ผู้เล้นสำรอง:
GK 44 โครเอเชีย Božidar Radošević
MF 18 อิหร่าน Mohsen Rabiekhah
MF 21 อิหร่าน Adam Hemati
MF 22 อิหร่าน Omid Alishah Substituted on in the 70 minute 70'
MF 25 อิหร่าน Ehsan Alvanzadeh
MF 26 อิหร่าน Saeid Hosseinpour
MF 37 อิหร่าน Hamidreza Taherkhani
ผู้จัดการทีม:
โครเอเชีย บรันคอ อิวานคอวิช

ผู้เล่นยอดเยี่ยมประจำนัด:
แลอู ซิลวา (คะชิมะ แอนต์เลอส์)[1]

ผู้ช่วยผู้ตัดสิน:[1]
Cao Yi (จีน)
Shi Xiang (จีน)
ผู้ตัดสินที่สี่:[1]
Huo Weiming (จีน)
ผู้ช่วยผู้ตัดสินเพิ่มเติม:[1]
Fu Ming (จีน)
Liu Kwok Man (ฮ่องกง)

กฏ-กติกา[3]

  • 90 นาที.
  • มีรายชื่อตัวสำรองได้ถึงเจ็ดคน, แต่จะใช้เปลี่ยนตัวได้แค่สามคน.

เลกที่สอง[แก้]

รายละเอียด[แก้]

เพร์สโพลีส
คาชิมะ แอนต์เลอส์
GK 1 อิหร่าน Alireza Beiranvand
RB 3 อิหร่าน Shoja' Khalilzadeh
CB 4 อิหร่าน Jalal Hosseini (กัปตัน)
CB 15 อิหร่าน Mohammad Ansari Substituted off in the 69 นาที 69'
LB 69 อิหร่าน Shayan Mosleh
DM 11 อิหร่าน Kamal Kamyabinia
CM 21 อิหร่าน Adam Hemati Substituted off in the 64 นาที 64'
CM 8 อิหร่าน Ahmad Nourollahi
AM 5 อิรัก Bashar Resan
CF 70 อิหร่าน Ali Alipour
CF 90 ไนจีเรีย Godwin Mensha
Substitutes:
GK 12 อิหร่าน Abolfazl Darvishvand
GK 44 โครเอเชีย Božidar Radošević
DF 38 อิหร่าน Ehsan Hosseini
MF 18 อิหร่าน Mohsen Rabiekhah Substituted on in the 64 minute 64'
MF 25 อิหร่าน Ehsan Alvanzadeh Substituted on in the 69 minute 69'
MF 26 อิหร่าน Saeid Hosseinpour
MF 37 อิหร่าน Hamidreza Taherkhani
ผู้จัดการทีม:
โครเอเชีย บรันคอ อิวานคอวิช
GK 1 เกาหลีใต้ Kwoun Sun-tae
RB 22 ญี่ปุ่น Daigo Nishi โดนใบเหลือง ใน 70 นาที 70'
CB 35 เกาหลีใต้ Jung Seung-hyun
CB 3 ญี่ปุ่น Gen Shoji (กัปตัน)
LB 16 ญี่ปุ่น Shuto Yamamoto
RM 8 ญี่ปุ่น Shoma Doi Substituted off in the 68 นาที 68'
CM 20 ญี่ปุ่น Kento Misao
CM 4 บราซิล Léo Silva โดนใบเหลือง ใน 43 นาที 43'
LM 30 ญี่ปุ่น Hiroki Abe Substituted off in the 90+3 นาที 90+3'
CF 18 บราซิล Serginho
CF 9 ญี่ปุ่น Yuma Suzuki Substituted off in the 77 นาที 77'
Substitutes:
GK 21 ญี่ปุ่น Hitoshi Sogahata
DF 32 ญี่ปุ่น Koki Anzai Substituted on in the 68 minute 68'
DF 39 ญี่ปุ่น Tomoya Inukai
MF 6 ญี่ปุ่น Ryota Nagaki โดนใบเหลือง ใน 90+1 นาที 90+1' Substituted on in the 77 minute 77'
MF 25 ญี่ปุ่น Yasushi Endo
MF 40 ญี่ปุ่น Mitsuo Ogasawara
FW 14 ญี่ปุ่น Takeshi Kanamori Substituted on in the 90+3 minute 90+3'
ผู้จัดการทีม:
ญี่ปุ่น โก โออิวะ

ผู้เล่นยอดเยี่ยมประจำนัด:
กอดวิน เมนชา (เพร์สโพลีส)[2]

ผู้ช่วยผู้ตัดสิน:[2]
Abu Bakar Salem Mahad (โอมาน)
Rashid Hamed Ali Al-Ghaithi (โอมาน)
ผู้ตัดสินที่สี่:[2]
Ronnie Gu Minjier (สิงคโปร์)
ผู้ช่วยผู้ตัดสินเพิ่มเติม:[2]
Muhammad Taqi Al-Jaafari Bin Jahari (สิงคโปร์)
Adham Makhadmeh (จอร์แดน)

กฏ-กติกา[3]

  • 90 นาที.
  • 30 นาทีของ การต่อเวลาพิเศษ ถ้าผลเสมอกันทั้งรวมผลสองนัดและ ประตูทีมเยือน.
  • การดวลลูกโทษ เป็นวิธีที่จะใช้ตัดสินหลังจากต่อเวลาพิเศษเสมอกัน (ไม่มีกฏประตูทีมเยือนนำมาประยุกต์).
  • มีรายชื่อตัวสำรองได้ถึงเจ็ดคน, แต่จะใช้เปลี่ยนตัวได้แค่สามคน.

ดูเพิ่ม[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. 1.0 1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 1.6 1.7 "Kashima Antlers v Persepolis FC". the-afc.com. Asian Football Confederation. 3 November 2018. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-11-11. สืบค้นเมื่อ 11 November 2018.
  2. 2.0 2.1 2.2 2.3 2.4 2.5 2.6 2.7 "Persepolis FC v Kashima Antlers". the-afc.com. Asian Football Confederation. 10 November 2018. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-11-11. สืบค้นเมื่อ 11 November 2018.
  3. 3.0 3.1 3.2 "2018 AFC Champions League Competition Regulations" (PDF). AFC.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]