มรดกภาพยนตร์ของชาติ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

มรดกภาพยนตร์ของชาติ เป็นโครงการของหอภาพยนตร์ (องค์การมหาชน) เพื่อขึ้นทะเบียนภาพยนตร์ที่มีคุณค่าของชาติและเสี่ยงต่อการสูญเสีย โดยโครงการจะจัดขึ้นทุกปี และจะประกาศรายชื่อภาพยนตร์ปีละครั้ง

ประวัติ[แก้]

หอภาพยนตร์ (องค์การมหาชน) ได้จัดทำโครงการขึ้นทะเบียนมรดกภาพยนตร์ของชาติขึ้นครั้งแรก ในปี พ.ศ. 2554 และประกาศรายชื่อภาพยนตร์ที่ได้รับการขึ้นทะเบียนฯ ทั้ง 25 เรื่อง ในวันที่ 4 ตุลาคม ของปีนั้น ซึ่งได้กำหนดให้เป็นวันอนุรักษ์ภาพยนตร์ไทย โครงการนี้เป็นโครงการต่อเนื่องที่จะจัดขึ้นทุกปี เพื่อขึ้นทะเบียนภาพยนตร์ที่มีคุณค่าของชาติและเสี่ยงต่อการสูญเสีย โดยได้ประกาศขึ้นทะเบียนมรดกภาพยนตร์ของชาติ ครั้งที่ 2 เมื่อวันที่ 4 ตุลาคม พ.ศ. 2555 ที่ผ่านมา มีจำนวนทั้งหมด 25 เรื่อง เช่นเดียวกับครั้งแรก และมีการประกาศรายชื่อภาพยนตร์ต่อมาทุกปี[1][2]

รายชื่อภาพยนตร์[แก้]

ครั้งที่ 1 (พ.ศ. 2554)[แก้]

ครั้งที่ 2 (พ.ศ. 2555)[แก้]

ครั้งที่ 3 (พ.ศ. 2556)[แก้]

ครั้งที่ 4 (พ.ศ. 2557)[แก้]

ครั้งที่ 5 (พ.ศ. 2558)[แก้]

ครั้งที่ 6 (พ.ศ. 2559)[แก้]

ครั้งที่ 7 (พ.ศ. 2560)[แก้]

ครั้งที่ 8 (พ.ศ. 2561)[แก้]

ครั้งที่ 9 (พ.ศ. 2562)[แก้]

ครั้งที่ 10 (พ.ศ. 2563)[แก้]

ครั้งที่ 11 (พ.ศ. 2564)[แก้]

  • [โสกันต์พระองค์เจ้าจิรศักดิ์สุประภาต] (พ.ศ. 2471)
  • ห้วงรักเหวลึก (พ.ศ. 2498)
  • [คำปราศรัยในวันครบรอบปีที่ 2 แห่งการปฏิวัติ 20 ตุลาคม 2503] (ไม่สมบูรณ์) (พ.ศ. 2503)
  • สุรีรัตน์ล่องหน (พ.ศ. 2504)
  • นิสิตพัฒนา (ไม่สมบูรณ์) (พ.ศ. 2505)
  • โฆษณาเพียว (ประมาณปี พ.ศ. 2506-2508)
  • การเดินทางอันแสนไกล (พ.ศ. 2512)
  • ทอง (พ.ศ. 2516)
  • วิมานดารา (พ.ศ. 2517)
  • สาย สีมา นักสู้สามัญชน (พ.ศ. 2524)
  • Goal Club เกมล้มโต๊ะ (พ.ศ. 2544)

ครั้งที่ 12 (พ.ศ. 2565)[แก้]

ครั้งที่ 13 (พ.ศ. 2566)[แก้]

  • ปักธงไชย (2500)
  • Thailand (2501)
  • กตัญญูปกาสิต (2501)
  • โกนจุก [2510]
  • วันมหาวิปโยค (2516)
  • เทวดาเดินดิน (2519)
  • [สัมภาษณ์ผู้เข้าร่วมกับพรรคคอมมิวนิสต์ไทยที่กลับออกจากป่า] [2528]
  • เพลงสุดท้าย (2528)
  • 14 ตุลา สงครามประชาชน (2544)
  • หัวใจทรนง The Adventure of Iron Pussy (2546)

อ้างอิง[แก้]

  1. "รายชื่อภาพยนตร์ที่ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกภาพยนตร์ของชาติ ครั้งที่ 3 ปี 2556: หอภาพยนตร์ (องค์การมหาชน)". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-02-17. สืบค้นเมื่อ 2015-12-13.
  2. "วธ.ขึ้นทะเบียนหนังไทยเป็น มรดกภาพยนตร์ของชาติประจำปี 2558". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-03-04. สืบค้นเมื่อ 2015-12-13.