ผลต่างระหว่างรุ่นของ "งูเห่าพ่นพิษสยาม"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 20: บรรทัด 20:


== ลักษณะ ==
== ลักษณะ ==
ลักษณะรูปร่างทั่วไปจะคล้ายคลึงกับ[[งูเห่าหม้อ]] (''N. kaouthia'') แต่มีลำตัวที่สั้นกว่า โดยจะยาวเฉลี่ย2 ถึง - 3เมตร มีความว่องไว นิสัยดุร้าย ดอกจันมักเป็นรูปตัว U หรือเลือนลางในบางตัว สีลำตัวบางตัวอาจมีลายดอกด่างขาว จึงได้อีกชื่อหนึ่งว่า "[[งูเห่าพ่นพิษด่าง]]" หรือ "[[งูเห่าพ่นพิษขี้เรื้อน]]" เป็นต้น
ลักษณะรูปร่างทั่วไปจะคล้ายคลึงกับ[[งูเห่าหม้อ]] (''N. kaouthia'') แต่มีลำตัวที่สั้นกว่า โดยจะยาวเฉลี่ย ..... มีความว่องไว นิสัยดุร้าย ดอกจันมักเป็นรูปตัว U หรือเลือนลางในบางตัว สีลำตัวบางตัวอาจมีลายดอกด่างขาว จึงได้อีกชื่อหนึ่งว่า "[[งูเห่าพ่นพิษด่าง]]" หรือ "[[งูเห่าพ่นพิษขี้เรื้อน]]" เป็นต้น


== ชนิด ==
== ชนิด ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 16:27, 3 พฤษภาคม 2563

งูเห่าพ่นพิษสยาม
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์
อาณาจักร: Animalia
ไฟลัม: Chordata
ชั้น: Reptilia
อันดับ: Squamata
อันดับย่อย: Serpentes
วงศ์: Elapidae
สกุล: Naja
สปีชีส์: N.  siamensis
ชื่อทวินาม
Naja siamensis
Laurenti, 1768

งูเห่าพ่นพิษสยาม (อังกฤษ: Indo-Chinese cobra; ชื่อวิทยาศาสตร์: Naja siamensis) เป็นงูเห่าจำพวกงูเห่าพ่นพิษ กล่าวคือ เป็นงูเห่าที่สามารถพ่นพิษได้ โดยสามารถพ่นพิษได้ไกล ถึง 5–8 เมตร เมื่อพ่นน้ำพิษหมดแล้ว สามารถผลิตน้ำพิษได้ในเวลา 10 นาที ก็สามารถพ่นน้ำพิษใหม่ได้ ขณะชูคอแผ่แม่เบี้ยขู่ ก็จะอ้าปากเพื่อเตรียมพ่นพิษใส่ศัตรู จะมีรูของเขี้ยวพิษ อยู่ทางด้านหน้า เพื่อสะดวกในการฉีดพ่นพิษออกไป และถ้าพิษเข้าตา ไม่ทำให้ตาบอด ยกเว้นเวียแต่เราขยี้ตา ถ้าถูกพิษทางผิวหนังที่มีแผล ก็จะทำให้เกิดการอักเสบ แต่ไม่อันตรายมาก เพราะได้รับปริมาณพิษน้อย

ลักษณะ

ลักษณะรูปร่างทั่วไปจะคล้ายคลึงกับงูเห่าหม้อ (N. kaouthia) แต่มีลำตัวที่สั้นกว่า โดยจะยาวเฉลี่ย ..... มีความว่องไว นิสัยดุร้าย ดอกจันมักเป็นรูปตัว U หรือเลือนลางในบางตัว สีลำตัวบางตัวอาจมีลายดอกด่างขาว จึงได้อีกชื่อหนึ่งว่า "งูเห่าพ่นพิษด่าง" หรือ "งูเห่าพ่นพิษขี้เรื้อน" เป็นต้น

ชนิด

งูเห่าพ่นพิษที่พบในประเทศไทยสามารถจำแนกออกเป็น ชนิดต่าง ๆ ได้ตามถิ่นที่อยู่และสีลำตัว เช่น "งูเห่าพ่นพิษสยาม" หรือ "งูเห่าพ่นพิษด่าง" (N. siamensis var. "Black & White") , "งูเห่าพ่นพิษอีสาน" (N. siamensis var. "Greenish Brown") ที่มีความยาวประมาณ 0.6 เมตร นับว่าเป็นงูเห่าที่มีขนาดสั้นที่สุดที่พบในประเทศไทย มีสีเขียวหม่นหรือสีเขียวอมเทาทั่วตัว ลายปรากฏไม่ชัดเจน ดอกจันเป็นรูปตัว U เห็นชัดเจนกว่างูเห่าพ่นพิษสยาม เป็นต้น และนอกจากนี้ยังมีชนิดแยกคือ งูเห่าพ่นพิษสีทอง (N. siamensis sumartrana)

ถิ่นที่พบ

สำหรับในต่างประเทศ ยังมีงูเห่าพ่นพิษอีก 6 ชนิด พบได้ที่ภูมิภาคเอเชียใต้ไปจรดถึงสิงคโปร์

นิยมเลี้ยงเป็นสัตว์เลี้ยงของผู้นิยมเลี้ยงสัตว์เลื้อยคลาน ซึ่งมีราคาซื้อขายที่ไม่แพง ทั้งไทยและต่างประเทศ

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น

ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับ Naja siamensis ที่วิกิสปีชีส์