ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วิตามินซี"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tikmok (คุย | ส่วนร่วม)
แปลจาวิกีอังกฤษ + บทความเดิม (โดยเปลี่ยนสำนวน ทิ้งข้อมูลเก่า ใส่ข้อมูลเดิมบางอย่างไว้ในเชิงอรรถ ย้ายรายละเอียดที่เคยอยู่ที่ต้นบทความไปไว้ในส่วนอื่น แก้ข้อมูลผิด)
Tikmok (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 101: บรรทัด 101:
กรดแอสคอร์บิกใช้เป็นสารปรุงแต่งอาหารอย่างกว้างขวางเพื่อป้องกัน[[ออกซิเดชัน]]
กรดแอสคอร์บิกใช้เป็นสารปรุงแต่งอาหารอย่างกว้างขวางเพื่อป้องกัน[[ออกซิเดชัน]]


== ชีววิทยา ==
=== ความสำคัญ ===
วิตามินซีเป็น[[สารอาหาร]]จำเป็นสำหรับสัตว์บางอย่างรวมทั้ง[[มนุษย์]]
คำว่า ''วิตามินซี'' รวมเอา[[สารประกอบ]]ทางเคมีที่ทั่วไปมีโครงสร้างคล้ายกันหลายชนิดที่เรียกว่า vitamer มีฤทธิ์วิตามินซีในร่างกายสัตว์ ซึ่งรวมกรดแอสคอร์บิกและเกลือของมัน
[[เกลือ]]แอสคอร์เบต ดังเช่น โซเดียมแอสคอร์เบต (sodium ascorbate) และแคลเซียมแอสคอร์เบต (calcium ascorbate) มักใช้ในอาหารเสริม
ซึ่งสลายเป็นแอสคอร์เบตเมื่อย่อย
ทั้งแอสคอร์เบตและกรดแอสคอร์บิกมีอยู่ตามธรรมชาติในร่างกาย เพราะทั้งสองแปลงรูปเป็นกันและกันได้แล้วแต่[[ความเป็นกรด]] (pH)
ส่วนรูปแบบโมเลกุลที่ออกซิไดซ์ เช่น กรดดีไฮโดรแอสคอร์บิก ({{abbr |DHA| dehydroascorbic acid }}) สามารถเปลี่ยนกลับเป็นกรดแอสคอร์บิกด้วยตัวรีดิวซ์ (reducing agent)<ref name=DRItext2000 />

วิตามินซีเป็น[[โคแฟกเตอร์]]ในปฏิกิริยาอาศัยเอนไซม์ในสัตว์ (และมนุษย์) ซึ่งอำนวยกิจทางชีววิทยาที่จำเป็นหลายอย่างรวมทั้งการสมานแผล การป้องกันเลือดออกจาก[[หลอดเลือดฝอย] และการสังเคราะห์[[คอลลาเจน]]
ในมนุษย์ การขาดวิตามินซีทำให้การสังเคราะห์[[คอลลาเจน]]บกพร่อง ซึ่งทำให้อาการโรคลักปิดลักเปิดหนักขึ้น<ref name="DRItext2000" />
บทบาททางเคมีชีวภาพของวิตามินซีอีกอย่างก็คือเป็น[[สารต้านอนุมูลอิสระ]] (คือเป็นตัวรีดิวซ์) โดยจ่าย[[อิเล็กตรอน]]แก่[[ปฏิกิริยาเคมี]]ทั้งที่อาศัยเอนไซม์และไม่อาศัยเอนไซม์หลายอย่าง<ref name=DRItext2000 />
แล้วเปลี่ยนสภาพเป็นแบบออกซิไดซ์ โดยอาจเป็นกรดเซมิดีไฮโดรแอสคอร์บิก (semidehydroascorbic acid) หรือกรดดีไฮโดรแอสคอร์บิก
ซึ่งสามารถรีดีวซ์ให้กลับคืนสภาพเดิมด้วยกลไกอาศัยเอนไซม์โดยใช้[[กลูตาไธโอน]]และ [[NADPH]] เป็น[[เมแทบอไลต์]]<ref name="pmid8144521">
{{cite journal | author = Meister, A | title = Glutathione-ascorbic acid antioxidant system in animals | journal = J. Biol. Chem. | volume = 269 | issue = 13 | pages = 9397-9400 | date = April 1994 | pmid = 8144521 | url = http://www.jbc.org/content/269/13/9397.full.pdf+html | deadurl = no | archiveurl = https://web.archive.org/web/20150811212232/http://www.jbc.org/content/269/13/9397.full.pdf+html | archivedate = 2015-08-11 }}</ref><ref name="isbn1-4377-0959-1">
{{cite book | editors = Caudill, MA; Rogers, M | title = Biochemical, Physiological, and Molecular Aspects of Human Nutrition | edition = 3 | publisher = Saunders | location = Philadelphia | year = 2012 | pages = 627-654 | isbn = 978-1-4377-0959-9 | chapter = Vitamin C | authors = Michels, A; Frei, B }}</ref><ref name="Gropper_2005">
{{cite book | authors = Gropper, SS; Smith, JL; Grodd, JL | title = Advanced nutrition and human metabolism | publisher = Thomson Wadsworth | location = Belmont, CA | year = 2005 | pages = 260-275 | isbn = 978-0-534-55986-1 }}</ref>

ใน[[พืช]] วิตามินซีเป็น[[ซับสเตรต]]สำหรับแอสคอร์เบตเพอร์ออกซิเดส (ascorbate peroxidase)
เอนไซม์นี้ใช้แอสคอร์เบตเพื่อสลาย[[ไฮโดรเจนเพอร์ออกไซด์]] (H<sub>2</sub>O<sub>2</sub>) ที่เป็นพิษให้เป็น[[น้ำ]] (H<sub>2</sub>O)<ref name=lpi2018 /><ref>
{{cite book | editor1-first = Naser A. | editor1-last = Anjum | editor2-first = Shahid | editor2-last = Umar | editor3-first = Ming-Tsair | editor3-last = Chan | date = 2010-09-13 | title = Ascorbate-Glutathione Pathway and Stress Tolerance in Plants | publisher = Springer | page = 324 | url = https://books.google.com/books?id=HUgvF_9EwHcC&pg=PA324 | access-date = 2017-08-03 | isbn = 978-9-048-19403-2 | deadurl = no | archiveurl = https://web.archive.org/web/20171105201705/https://books.google.com/books?id=HUgvF_9EwHcC&pg=PA324 | archivedate = 2017-11-05 }}</ref>

=== การขาด ===
{{บทความหลัก |โรคลักปิดลักเปิด}}
[[โรคลักปิดลักเปิด]]มีเหตุจากการขาดวิตามินซี เพราะเมื่อไม่มีวิตามิน [[คอลลาเจน]]ที่ร่างกายผลิตจะไม่เสถียรพอเพื่อใช้งาน<ref name=lpi2018 />
โรคทำให้มีจุดน้ำตาลบน[[ผิวหนัง]] เหงือกยุ่ย และ[[เลือด]]ออกตาม[[เยื่อเมือก]]
จุดดังว่าเกิดมากสุดที่ขา คนไข้จะดูซีด [[ซึมเศร้า]] และอ่อนล้า
ถ้าเป็นมาก แผลจะไม่ค่อยหาย ฟันร่วง จนถึงเสียชีวิตได้
ร่างกายมนุษย์สามารถเก็บสะสมวิตามินซีเป็นปริมาณจำกัดเท่านั้น<ref name=Medline>{{Cite web | url = https://medlineplus.gov/ency/article/002404.htm | title = Vitamin C: MedlinePlus Medical Encyclopedia | website = medlineplus.gov | access-date = 2016-07-23 | deadurl = yes | archiveurl = https://web.archive.org/web/20160728013605/https://medlineplus.gov/ency/article/002404.htm | archivedate = 2016-07-28 }}</ref>
ดังนั้น ก็จะหมดไปถ้าไม่ได้เพิ่ม
แต่การปรากฏอาการของผู้ใหญ่ที่ไม่ขาดวิตามินแล้วทานอาหารที่ไม่มีวิตามินซีเลย อาจกินเวลาตั้งแต่เดือนหนึ่งจนถึงมากกว่า {{nowrap |6 เดือน}}ขึ้นอยู่กับปริมาณวิตามินซีสะสมก่อนหน้านี้<ref name="pmid4977512" /><ref name="pmid16510534" />

มีงานศึกษาเด่นที่ทดลองก่อโรคใน[[ผู้คัดค้านโดยอ้างมโนธรรม|ผู้ปฏิเสธไม่ยอมเป็นทหารโดยอ้างมโนธรรม]]ใน[[ประเทศอังกฤษ]]ช่วง[[สงครามโลกครั้งที่สอง]] และในนักโทษ[[รัฐไอโอวา]] ([[สหรัฐ]]) ในช่วงปลายคริสต์ทศวรรษ 1960 จนถึง 1980
งานศึกษาทั้งสองพบว่า อาการโรคลักปิดลักเปิดต่าง ๆ ที่ปรากฏเพราะทานอาหารที่มีวิตามินซีน้อยมากสามารถแก้ได้ทั้งหมดโดยเสริมวิตามินซีเพียงแค่ {{nowrap |10 [[มก.]]/วัน}}
ในงานทดลองเหล่านี้ ไม่มีความแตกต่างทางคลินิกระหว่างชายที่ได้วิตามิน {{nowrap |70 [[มก.]]/วัน}} (ซึ่งทำให้มีความเข้มข้นวิตามินในเลือด {{nowrap |0.55 มก./ดล.}} อันเป็น {{nowrap |1/3 ของ}}ระดับอิ่มตัวในเนื้อเยื่อโดยประมาณ) กับชายที่ได้ {{nowrap |10 มก./วัน}}
นักโทษในงานศึกษาเกิดอาการโรคประมาณ {{nowrap |4 สัปดาห์}}หลังเริ่มทานอาหารปลอดวิตามินซี เทียบกับงานศึกษาในอังกฤษที่ต้องใช้เวลา {{nowrap |6-8 เดือน}}โดยน่าจะเป็นเพราะการเร่งให้ทานอาหารเสริมขนาด {{nowrap |70 [[มก.]]/วัน}}เป็นเวลา {{nowrap |6 สัปดาห์}}ก่อนให้ทานอาหารขาดวิตามิน<ref name="pmid4977512" /><ref name="pmid16510534">{{cite journal | authors = Pemberton, J | title = Medical experiments carried out in Sheffield on conscientious objectors to military service during the 1939-45 war | journal = International Journal of Epidemiology | volume = 35 | issue = 3 | pages = 556-8 | date = June 2006 | pmid = 16510534 | doi = 10.1093/ije/dyl020 }}</ref>

ชายในงานทั้งสองที่ทานอาหารเกือบไร้วิตามิน มีวิตามินซีในเลือดต่ำกว่าที่จะวัดได้อย่างแม่นยำเมื่อเริ่มเกิดอาการโรค ในนักโทษรัฐไอโอวา ได้ประเมิน (โดยวิธี labeled vitamin C dilution) ในช่วงนี้ว่า มีปริมาณสะสมในร่างกายน้อยกว่า {{nowrap |300 มก.}} โดยใช้วันละเพียงแค่ 2.5&nbsp;มก. เพราะทั้งหมดจะหมดไปเมื่อถึง {{nowrap |4 เดือน}} จึงแสดงนัยว่ามี[[ครึ่งชีวิต]]ที่ {{nowrap |83 วัน}}<ref name="pmid4977512">{{cite journal | authors = Hodges, RE; Baker, EM; Hood, J; Sauberlich, HE; March, SC | title = Experimental scurvy in man | journal = The American Journal of Clinical Nutrition | volume = 22 | issue = 5 | pages = 535-48 | date = May 1969 | pmid = 4977512 | doi = 10.1093/ajcn/22.5.535}}</ref>


== เชิงอรรถ ==
== เชิงอรรถ ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 13:48, 12 กันยายน 2562

วิตามินซี
Natta projection of structural formula for L-ascorbic acid
Ball-and-stick model of L-ascorbic acid
ข้อมูลทางคลินิก
ชื่ออื่นl-ascorbic acid, กรดแอสคอร์บิก, แอสคอร์เบต
AHFS/Drugs.comโมโนกราฟ
MedlinePlusa682583
ระดับความเสี่ยงต่อทารกในครรภ์
  • A (จนถึงระดับ RDA), C (เหนือระดับ RDA)
ช่องทางการรับยาทางปาก ฉีดที่กล้ามเนื้อ ให้ทางเส้นเลือด ฉีดใต้ผิวหนัง
รหัส ATC
กฏหมาย
สถานะตามกฏหมาย
  • ซื้อเองได้ (ทางปาก) ใบสั่งแพทย์ (เมื่อฉีด)
ข้อมูลเภสัชจลนศาสตร์
ชีวประสิทธิผลรวดเร็วและสมบูรณ์
การจับกับโปรตีนน้อยมาก
ครึ่งชีวิตทางชีวภาพต่าง ๆ ขึ้นอยู่กับความเข้มข้นในเลือด
การขับออกไต
ตัวบ่งชี้
  • l-threo-Hex-2-enono-1,4-lactone
    หรือ
    (R)-3,4-Dihydroxy-5-((S)- 1,2-dihydroxyethyl)furan-2(5H)-one
เลขทะเบียน CAS
PubChem CID
IUPHAR/BPS
DrugBank
ChemSpider
UNII
KEGG
ChEBI
ChEMBL
NIAID ChemDB
E numberE300 (antioxidants, ...)
ECHA InfoCard100.000.061
ข้อมูลทางกายภาพและเคมี
สูตรC6H8O6
มวลต่อโมล176.12 g·mol−1
แบบจำลอง 3D (JSmol)
ความหนาแน่น1.694 g/cm3
จุดหลอมเหลว190–192 องศาเซลเซียส (374–378 องศาฟาเรนไฮต์) (บางส่วนจะสลายไป)[1]
จุดเดือด553 องศาเซลเซียส (1,027 องศาฟาเรนไฮต์)
  • OC[C@H](O)[C@H]1OC(=O)C(O)=C1O
  • InChI=1S/C6H8O6/c7-1-2(8)5-3(9)4(10)6(11)12-5/h2,5,7-10H,1H2/t2-,5+/m0/s1 checkY
  • Key:CIWBSHSKHKDKBQ-JLAZNSOCSA-N checkY
  (verify)
สารานุกรมเภสัชกรรม

วิตามินซี หรือ กรดแอสคอร์บิก หรือ l-ascorbic acid (กรดแอล-แอสคอร์บิก) หรือ แอสคอร์เบต (อังกฤษ: ascorbate เป็นแอนไอออน [anion] ของกรดแอสคอร์บิก) เป็นวิตามินที่พบในอาหารและอาหารเสริมต่าง ๆ[2] ใช้ป้องกันและรักษาโรคลักปิดลักเปิด[2] เป็นสารอาหารจำเป็นที่ใช้ซ่อมแซมเนื้อเยื่อและผลิตสารสื่อประสาทบางอย่างโดยอาศัยเอนไซม์[2][3] จำเป็นในการทำงานของเอนไซม์หลายอย่างและสำคัญต่อการทำงานของระบบภูมิคุ้มกัน[3][4] และยังเป็นสารต้านอนุมูลอิสระด้วย[5] เป็นสารอาหารจำเป็นสำหรับมนุษย์และสัตว์อื่นบางชนิด เป็นวิตามินที่ละลายน้ำได้[6] แอสคอร์เบตจำเป็นในเมแทบอลิซึมของสัตว์และพืชทุกชนิด สิ่งมีชีวิตแทบทุกชนิดสามารถสังเคราะห์ได้ ที่สังเคราะห์ไม่ได้ต้องได้จากอาหาร

หลักฐานจนถึงปี 2016 ไม่สนับสนุนให้ใช้ป้องกันโรคหวัดธรรมดา[5][7] แต่มีหลักฐานว่าการใช้เป็นประจำทำให้หายหวัดเร็วขึ้น[8] ไม่ชัดเจนว่าการกินเป็นอาหารเสริมมีผลต่อความเสี่ยงโรคมะเร็ง โรคระบบหัวใจหลอดเลือด และภาวะสมองเสื่อม[9][10] อาจใช้กินหรือฉีด[2]

วิตามินซีโดยมากมีผลข้างเคียงน้อย[2] แต่ถ้ากินมากอาจทำให้ไม่สบายท้อง ปวดท้อง รบกวนการนอน และทำให้หน้าแดง[2][7] ขนาดปกติปลอดภัยเมื่อตั้งครรภ์[11] แพทยศาสตรบัณฑิตยสถานแห่งชาติสหรัฐ (NAM[A]) แนะนำไม่ให้กินเป็นปริมาณมาก ๆ[3]

วิตามินซีค้นพบในปี 1912 แล้วแยกต่างหากในปี 1928 เป็นวิตามินชนิดแรกที่ผลิตโดยสังเคราะห์ทางเคมีในปี 1933[12] มันอยู่ในรายการยาจำเป็นขององค์การอนามัยโลก เพราะเป็นยาที่มีประสิทธิภาพดีสุดและปลอดภัยซึ่งจำเป็นในระบบสาธารณสุข[13] เป็นยาสามัญที่ไม่แพงและซื้อได้เอง[2][14][15] ในปี 1937 นักเคมีชาวฮังการีอัลเบิร์ต เซนต์จอจี (Albert Szent-Györgyi) ได้รับรางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์ และนักเคมีชาวอังกฤษ (Norman Haworth) ได้รับรางวัลโนเบลสาขาเคมีส่วนหนึ่งก็เพราะค้นพบวิตามินซี[16][17] อาหารที่มีรวมทั้งผลไม้สกุลส้ม กีวี บรอกโคลี กะหล่ำดาว พริกหยวก และสตรอว์เบอร์รี[5] การเก็บไว้หรือหุงต้มนาน ๆ อาจลดวิตามินซีในอาหาร[5]

กรดแอสคอร์บิกใช้เป็นสารปรุงแต่งอาหารอย่างกว้างขวางเพื่อป้องกันออกซิเดชัน

ชีววิทยา

ความสำคัญ

วิตามินซีเป็นสารอาหารจำเป็นสำหรับสัตว์บางอย่างรวมทั้งมนุษย์ คำว่า วิตามินซี รวมเอาสารประกอบทางเคมีที่ทั่วไปมีโครงสร้างคล้ายกันหลายชนิดที่เรียกว่า vitamer มีฤทธิ์วิตามินซีในร่างกายสัตว์ ซึ่งรวมกรดแอสคอร์บิกและเกลือของมัน เกลือแอสคอร์เบต ดังเช่น โซเดียมแอสคอร์เบต (sodium ascorbate) และแคลเซียมแอสคอร์เบต (calcium ascorbate) มักใช้ในอาหารเสริม ซึ่งสลายเป็นแอสคอร์เบตเมื่อย่อย ทั้งแอสคอร์เบตและกรดแอสคอร์บิกมีอยู่ตามธรรมชาติในร่างกาย เพราะทั้งสองแปลงรูปเป็นกันและกันได้แล้วแต่ความเป็นกรด (pH) ส่วนรูปแบบโมเลกุลที่ออกซิไดซ์ เช่น กรดดีไฮโดรแอสคอร์บิก (DHA) สามารถเปลี่ยนกลับเป็นกรดแอสคอร์บิกด้วยตัวรีดิวซ์ (reducing agent)[3]

วิตามินซีเป็นโคแฟกเตอร์ในปฏิกิริยาอาศัยเอนไซม์ในสัตว์ (และมนุษย์) ซึ่งอำนวยกิจทางชีววิทยาที่จำเป็นหลายอย่างรวมทั้งการสมานแผล การป้องกันเลือดออกจาก[[หลอดเลือดฝอย] และการสังเคราะห์คอลลาเจน ในมนุษย์ การขาดวิตามินซีทำให้การสังเคราะห์คอลลาเจนบกพร่อง ซึ่งทำให้อาการโรคลักปิดลักเปิดหนักขึ้น[3] บทบาททางเคมีชีวภาพของวิตามินซีอีกอย่างก็คือเป็นสารต้านอนุมูลอิสระ (คือเป็นตัวรีดิวซ์) โดยจ่ายอิเล็กตรอนแก่ปฏิกิริยาเคมีทั้งที่อาศัยเอนไซม์และไม่อาศัยเอนไซม์หลายอย่าง[3] แล้วเปลี่ยนสภาพเป็นแบบออกซิไดซ์ โดยอาจเป็นกรดเซมิดีไฮโดรแอสคอร์บิก (semidehydroascorbic acid) หรือกรดดีไฮโดรแอสคอร์บิก ซึ่งสามารถรีดีวซ์ให้กลับคืนสภาพเดิมด้วยกลไกอาศัยเอนไซม์โดยใช้กลูตาไธโอนและ NADPH เป็นเมแทบอไลต์[18][19][20]

ในพืช วิตามินซีเป็นซับสเตรตสำหรับแอสคอร์เบตเพอร์ออกซิเดส (ascorbate peroxidase) เอนไซม์นี้ใช้แอสคอร์เบตเพื่อสลายไฮโดรเจนเพอร์ออกไซด์ (H2O2) ที่เป็นพิษให้เป็นน้ำ (H2O)[4][21]

การขาด

โรคลักปิดลักเปิดมีเหตุจากการขาดวิตามินซี เพราะเมื่อไม่มีวิตามิน คอลลาเจนที่ร่างกายผลิตจะไม่เสถียรพอเพื่อใช้งาน[4] โรคทำให้มีจุดน้ำตาลบนผิวหนัง เหงือกยุ่ย และเลือดออกตามเยื่อเมือก จุดดังว่าเกิดมากสุดที่ขา คนไข้จะดูซีด ซึมเศร้า และอ่อนล้า ถ้าเป็นมาก แผลจะไม่ค่อยหาย ฟันร่วง จนถึงเสียชีวิตได้ ร่างกายมนุษย์สามารถเก็บสะสมวิตามินซีเป็นปริมาณจำกัดเท่านั้น[22] ดังนั้น ก็จะหมดไปถ้าไม่ได้เพิ่ม แต่การปรากฏอาการของผู้ใหญ่ที่ไม่ขาดวิตามินแล้วทานอาหารที่ไม่มีวิตามินซีเลย อาจกินเวลาตั้งแต่เดือนหนึ่งจนถึงมากกว่า 6 เดือนขึ้นอยู่กับปริมาณวิตามินซีสะสมก่อนหน้านี้[23][24]

มีงานศึกษาเด่นที่ทดลองก่อโรคในผู้ปฏิเสธไม่ยอมเป็นทหารโดยอ้างมโนธรรมในประเทศอังกฤษช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง และในนักโทษรัฐไอโอวา (สหรัฐ) ในช่วงปลายคริสต์ทศวรรษ 1960 จนถึง 1980 งานศึกษาทั้งสองพบว่า อาการโรคลักปิดลักเปิดต่าง ๆ ที่ปรากฏเพราะทานอาหารที่มีวิตามินซีน้อยมากสามารถแก้ได้ทั้งหมดโดยเสริมวิตามินซีเพียงแค่ 10 มก./วัน ในงานทดลองเหล่านี้ ไม่มีความแตกต่างทางคลินิกระหว่างชายที่ได้วิตามิน 70 มก./วัน (ซึ่งทำให้มีความเข้มข้นวิตามินในเลือด 0.55 มก./ดล. อันเป็น 1/3 ของระดับอิ่มตัวในเนื้อเยื่อโดยประมาณ) กับชายที่ได้ 10 มก./วัน นักโทษในงานศึกษาเกิดอาการโรคประมาณ 4 สัปดาห์หลังเริ่มทานอาหารปลอดวิตามินซี เทียบกับงานศึกษาในอังกฤษที่ต้องใช้เวลา 6-8 เดือนโดยน่าจะเป็นเพราะการเร่งให้ทานอาหารเสริมขนาด 70 มก./วันเป็นเวลา 6 สัปดาห์ก่อนให้ทานอาหารขาดวิตามิน[23][24]

ชายในงานทั้งสองที่ทานอาหารเกือบไร้วิตามิน มีวิตามินซีในเลือดต่ำกว่าที่จะวัดได้อย่างแม่นยำเมื่อเริ่มเกิดอาการโรค ในนักโทษรัฐไอโอวา ได้ประเมิน (โดยวิธี labeled vitamin C dilution) ในช่วงนี้ว่า มีปริมาณสะสมในร่างกายน้อยกว่า 300 มก. โดยใช้วันละเพียงแค่ 2.5 มก. เพราะทั้งหมดจะหมดไปเมื่อถึง 4 เดือน จึงแสดงนัยว่ามีครึ่งชีวิตที่ 83 วัน[23]

เชิงอรรถ

  1. เป็นส่วนของ National Academies of Sciences, Engineering, and Medicine โดยแบ่งเป็น
    • วิทยาศาสตรบัณฑิตยสถานแห่งชาติสหรัฐ (NAS)
    • วิศวกรรมศาสตรบัณฑิตยสถานแห่งชาติสหรัฐ (NAE)
    • แพทยศาสตรบัณฑิตยสถานแห่งชาติสหรัฐ (NAM)

อ้างอิง

  1. Merck Index, 14th ed.
  2. 2.0 2.1 2.2 2.3 2.4 2.5 2.6 "Ascorbic Acid". The American Society of Health-System Pharmacists. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-12-30. สืบค้นเมื่อ 2016-12-08. {{cite web}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |deadurl= ถูกละเว้น แนะนำ (|url-status=) (help)
  3. 3.0 3.1 3.2 3.3 3.4 3.5 "Vitamin C". Dietary Reference Intakes for Vitamin C, Vitamin E, Selenium, and Carotenoids. Washington, DC: The National Academies Press. 2000. pp. 95–185. ISBN 978-0-309-06935-9. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-09-02. สืบค้นเมื่อ 2017-09-01. {{cite book}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |deadurl= ถูกละเว้น แนะนำ (|url-status=) (help) มีข้อความต่าง ๆ รวมทั้ง
    • "Reports of kidney stone formation associated with excess ascorbic acid intake are limited to individuals with renal disease".
    • "data from epidemiological studies do not support an association between excess ascorbic acid intake and kidney stone formation in apparently healthy individuals"
  4. 4.0 4.1 4.2 "Vitamin C". Micronutrient Information Center, Linus Pauling Institute, Oregon State University, Corvallis, OR. 2018-07-01. สืบค้นเมื่อ 2019-06-19.
  5. 5.0 5.1 5.2 5.3 "Fact Sheet for Health Professionals - Vitamin C". Office of Dietary Supplements, US National Institutes of Health. 2016-02-11. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-07-30. {{cite web}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |deadurl= ถูกละเว้น แนะนำ (|url-status=) (help)
  6. "สารอาหารประเภทวิตามิน". siripansiri.wordpress.com. สืบค้นเมื่อ 2016-04-17. {{cite web}}: Cite ไม่รู้จักพารามิเตอร์ว่างเปล่า : |deadurl= (help)
  7. 7.0 7.1 WHO Model Formulary 2008 (PDF). World Health Organization. 2009. p. 496. ISBN 9789241547659. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2016-12-13. สืบค้นเมื่อ 2016-12-08. {{cite book}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |deadurl= ถูกละเว้น แนะนำ (|url-status=) (help)
  8. Hemilä, H; Chalker, E (January 2013). "Vitamin C for preventing and treating the common cold". The Cochrane Database of Systematic Reviews (1): CD000980. doi:10.1002/14651858.CD000980.pub4. PMC 1160577. PMID 23440782.{{cite journal}}: CS1 maint: uses authors parameter (ลิงก์)
  9. Ye, Y; Li, J; Yuan, Z (2013). "Effect of antioxidant vitamin supplementation on cardiovascular outcomes: a meta-analysis of randomized controlled trials". PLOS ONE. 8 (2): e56803. Bibcode:2013PLoSO...856803Y. doi:10.1371/journal.pone.0056803. PMC 3577664. PMID 23437244.{{cite journal}}: CS1 maint: uses authors parameter (ลิงก์)
  10. Duerbeck, NB; Dowling, DD; Duerbeck, JM (March 2016). "Vitamin C: Promises Not Kept". Obstetrical & Gynecological Survey. 71 (3): 187–93. doi:10.1097/OGX.0000000000000289. PMID 26987583.{{cite journal}}: CS1 maint: uses authors parameter (ลิงก์)
  11. "Ascorbic acid Use During Pregnancy". Drugs.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-12-31. สืบค้นเมื่อ 2016-12-30. {{cite web}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |deadurl= ถูกละเว้น แนะนำ (|url-status=) (help)
  12. Squires, Victor R. (2011). The Role of Food, Agriculture, Forestry and Fisheries in Human Nutrition - Volume IV. EOLSS Publications. p. 121. ISBN 9781848261952.
  13. "WHO Model List of Essential Medicines (19th List)" (PDF). World Health Organization. April 2015. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2016-12-13. สืบค้นเมื่อ 2016-12-08. {{cite web}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |deadurl= ถูกละเว้น แนะนำ (|url-status=) (help)
  14. British national formulary : BNF 76 (76 ed.). Pharmaceutical Press. 2018. p. 1049. ISBN 9780857113382.
  15. "International Drug Price Indicator Guide. Vitamin C: Supplier Prices". Management Sciences for Health, Arlington, VA. 2016. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-03-23. สืบค้นเมื่อ 2017-03-22. {{cite web}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |deadurl= ถูกละเว้น แนะนำ (|url-status=) (help)
  16. "The Nobel Prize in Physiology or Medicine 1937". Nobel Media AB. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-11-05. สืบค้นเมื่อ 2014-11-20. {{cite web}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |deadurl= ถูกละเว้น แนะนำ (|url-status=) (help)
  17. Zetterström, R (May 2009). "Nobel Prize 1937 to Albert von Szent-Györgyi: identification of vitamin C as the anti-scorbutic factor". Acta Paediatrica. 98 (5): 915–9. doi:10.1111/j.1651-2227.2009.01239.x. PMID 19239412.{{cite journal}}: CS1 maint: uses authors parameter (ลิงก์)
  18. Meister, A (April 1994). "Glutathione-ascorbic acid antioxidant system in animals". J. Biol. Chem. 269 (13): 9397–9400. PMID 8144521. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-08-11. {{cite journal}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |deadurl= ถูกละเว้น แนะนำ (|url-status=) (help)
  19. Michels, A; Frei, B (2012). "Vitamin C". Biochemical, Physiological, and Molecular Aspects of Human Nutrition (3 ed.). Philadelphia: Saunders. pp. 627–654. ISBN 978-1-4377-0959-9. {{cite book}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |editors= ถูกละเว้น แนะนำ (|editor=) (help)CS1 maint: uses authors parameter (ลิงก์)
  20. Gropper, SS; Smith, JL; Grodd, JL (2005). Advanced nutrition and human metabolism. Belmont, CA: Thomson Wadsworth. pp. 260–275. ISBN 978-0-534-55986-1.{{cite book}}: CS1 maint: uses authors parameter (ลิงก์)
  21. Anjum, Naser A.; Umar, Shahid; Chan, Ming-Tsair, บ.ก. (2010-09-13). Ascorbate-Glutathione Pathway and Stress Tolerance in Plants. Springer. p. 324. ISBN 978-9-048-19403-2. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-11-05. สืบค้นเมื่อ 2017-08-03. {{cite book}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |deadurl= ถูกละเว้น แนะนำ (|url-status=) (help)
  22. "Vitamin C: MedlinePlus Medical Encyclopedia". medlineplus.gov. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-07-28. สืบค้นเมื่อ 2016-07-23. {{cite web}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |deadurl= ถูกละเว้น แนะนำ (|url-status=) (help)
  23. 23.0 23.1 23.2 Hodges, RE; Baker, EM; Hood, J; Sauberlich, HE; March, SC (May 1969). "Experimental scurvy in man". The American Journal of Clinical Nutrition. 22 (5): 535–48. doi:10.1093/ajcn/22.5.535. PMID 4977512.{{cite journal}}: CS1 maint: uses authors parameter (ลิงก์)
  24. 24.0 24.1 Pemberton, J (June 2006). "Medical experiments carried out in Sheffield on conscientious objectors to military service during the 1939-45 war". International Journal of Epidemiology. 35 (3): 556–8. doi:10.1093/ije/dyl020. PMID 16510534.{{cite journal}}: CS1 maint: uses authors parameter (ลิงก์)

แหล่งข้อมูลอื่น