โครงการทดสอบอะพอลโล–โซยุซ
โครงการทดสอบอะพอลโล–โชยุซ | |||||
---|---|---|---|---|---|
สถิติภารกิจ | |||||
ชื่อภารกิจ | โครงการทดสอบอะพอลโล–โชยุซ | ||||
มอดูลควบคุม | CSM-111 14,768 กก. | ||||
มวลยานอวกาศ | รวม 16,780 กก. (บวกมอดูลเทียบเท่า 2,012 กก.) | ||||
ขนาดลูกเรือ | 51 | ||||
เริ่มต้นยานพาหนะ | Saturn IB SA-210 | ||||
เริ่มต้นแผ่นรอง | LC 39B ศูนย์อวกาศเคนเนดี รัฐฟลอริดา สหรัฐ | ||||
เริ่มต้นวันที่ | 15 กรกฎาคม 1975 19:50 UTC | ||||
สถานลงจอด | 21°52′N 162°45′W / 21.867°N 162.750°W | ||||
ลงจอด | 24 กรกฎาคม 1975 21:18 UTC | ||||
ระยะเวลาภารกิจ | 9 วัน 1 ชั่วโมง 28 นาที | ||||
จำนวนของวงโคจร | 148 | ||||
ขีดสูงสุด | 231 กม. | ||||
จุดที่ดวงดาวอยู่ใกล้โลกที่สุด | 217 กม. | ||||
ระยะเวลาการโคจร | 88.91 ม. | ||||
วงเอียงของวงโคจร | 51.75° | ||||
ระยะทางที่เดินทาง | ~5,990,000 กม. | ||||
ภาพถ่ายของลูกเรือ | |||||
ซ้ายไปขวา: Slayton, Stafford, Brand, Leonov, Kubasov | |||||
ภารกิจที่เกี่ยวข้อง | |||||
|
โซยุซ 19 | |||||
---|---|---|---|---|---|
สถิติภารกิจ | |||||
ชื่อภารกิจ | โซยุซ 19 | ||||
ประเภทยานอวกาศ | Soyuz 7K-TM | ||||
มวลยานอวกาศ | 6,790 กก. | ||||
ขนาดลูกเรือ | 2 | ||||
สัญญาณเรียก | Союз (Soyuz - "Union") | ||||
เริ่มต้นยานพาหนะ | Soyuz-U | ||||
เริ่มต้นแผ่นรอง | Gagarin's Start ท่าอวกาศยานบัยโกเงอร์ สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตคาซัค | ||||
เริ่มต้นวันที่ | 15 กรกฎาคม 1975 12:20 UTC | ||||
ลงจอด | 21 กรกฎาคม 1975 10:50 UTC | ||||
ระยะเวลาภารกิจ | 5 วัน 22 ชั่วโมง 30 นาที | ||||
จำนวนของวงโคจร | 96 | ||||
ขีดสูงสุด | 231 กม. | ||||
จุดที่ดวงดาวอยู่ใกล้โลกที่สุด | 218 กม. | ||||
ระยะเวลาการโคจร | 88.92 นาที | ||||
วงเอียงของวงโคจร | 51.76° | ||||
ระยะทางที่เดินทาง | ~3,900,000 กม. | ||||
ภารกิจที่เกี่ยวข้อง | |||||
|
โครงการทดสอบอะพอลโล–โซยุซ (ASTP) (รัสเซีย: Экспериментальный полёт «Союз» — «Аполлон», Eksperimantalniy polyot Soyuz-Apollon ตามตัวอักษร "เที่ยวบินทดสอบโซยุซ-อะพอลโล") เป็นโครงการเที่ยวบินอวกาศที่ร่วมมือกันครั้งแรกระหว่างสหรัฐกับสหภาพโซเวียต และเป็นเที่ยวบินสุดท้ายของยานอวกาศอะพอลโล วัตถุประสงค์หลักคือเป็นสัญลักษณ์แห่งนโยบายยุคแห่งการผ่อนคลายความตึงเครียดที่ทั้งสองมหาอำนาจกำลังดำเนินในเวลานั้น และเป็นการสิ้นสุดการแข่งขันอวกาศระหว่างสองประเทศที่เริ่มขึ้นในปี ค.ศ. 1957
ภารกิจดังกล่าวมีทั้งการทดลองวิทยาศาสตร์ร่วมและแยกกัน และการทดลองทางวิศวกรรมที่เป็นประโยชน์แก่การบินอวกาศร่วมสหรัฐ-รัสเซียในอนาคต เช่น โครงการกระสวยอวกาศ–มีร์ และสถานีอวกาศนานาชาติ
ภารกิจดังกล่าวเป็นภารกิจอวกาศสุดท้ายที่มีคนบังคับของสหรัฐกระทั่งเที่ยวบินแรกของสเปซชัทเทิลในเดือนเมษายน ค.ศ. 1981
ค่าใช้จ่ายโครงการ
[แก้]สหรัฐใช้จ่าย 245,000,000 ดอลล่าร์สหรัฐ กับอะพอลโล-โซยุซ หรือ หนี่งพันล้านดอลลาร์สหรัฐ ในปี่ ค.ศ. 2010 ได้ปรับอัตราเงินดอลลาร์เฟ้อแล้ว[1]
อ้างอิง
[แก้]บทความนี้รวมเอางานสาธารณสมบัติจากองค์การบริหารการบินและอวกาศแห่งชาติ
- ↑ Lafleur, Claude (2010-03-08). "Costs of US piloted programs". The Space Review. สืบค้นเมื่อ February 18, 2012.
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]- ASTP Chronology เก็บถาวร 2013-06-16 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- ASTP home page เก็บถาวร 2009-07-25 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- Apollo–Soyuz เก็บถาวร 2021-02-25 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- The Partnership: A History of the Apollo–Soyuz Test Project เก็บถาวร 2011-01-23 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน – the official NASA history of the mission
- International rendezvous and docking mission (Apollo–Soyuz/Salyut) 1971 - NASA report (PDF format)
- Apollo/Soyuz test project operational data book. Volume 2: ASTP mass properties data book - NASA report (PDF format)
- Apollo–Soyuz test project operation handbook command service docking modules systems operating procedures - NASA flight operations manual (PDF Format)
- NASA History Series Publications (many of which are on-line)