ข้ามไปเนื้อหา

เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2010

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2010
รายละเอียดการแข่งขัน
วันที่10 มีนาคม - 13 พฤศจิกายน 2010
ทีม32
อันดับเมื่อสิ้นสุดการแข่งขัน
ชนะเลิศเกาหลีใต้ ซองนัม อิลฮวา (สมัยที่ 2)
รองชนะเลิศอิหร่าน ซอบ อะฮาน
สถิติการแข่งขัน
จำนวนนัดที่แข่งขัน117
จำนวนประตู329 (2.81 ประตูต่อนัด)
ผู้ชม1,442,242 (12,327 คนต่อนัด)
ผู้ทำประตูสูงสุดบราซิล โจเซ่ มอต้า
(ซูวอน บลูวิงส์; 9 ประตู)
ผู้เล่นยอดเยี่ยมออสเตรเลีย ซาซ่า โอกเนนอฟสกี้
ซองนัม อิลฮวา
2009
2011

เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2010 เป็นการแข่งขันเอเอฟซีแชมเปียนส์ลีกครั้งที่ 29 นัดชิงชนะเลิศจัดขึ้นวันที่ 13 พฤศจิกายน 2010 ณ สนามกีฬาแห่งชาติโตเกียว สโมสรที่ครองตำแหน่งชนะเลิศคือ ซองนัม อิลฮวา นับเป็นการชนะเลิศครั้งที่ 2 ในรายการนี้ และทำให้ได้สิทธิไปแข่งขันในรายการ ฟีฟ่าคลับเวิลด์คัพ 2010

ทีมที่เข้าร่วมการแข่งขัน[แก้]

เอเชียตะวันตก (กลุ่ม เอ-ดี)
ทีม เข้าแข่งขันในฐานะ ครั้งที่* ปีล่าสุด
ซาอุดีอาระเบีย อัล อิตติฮัด ชนะเลิศ ซาอุดิ โปรเฟสชันนัลลีก 2008-09 6 2009
ซาอุดีอาระเบีย อัล ชาบับ ชนะเลิศ ซาอุดิ แชมเปียนส์คัพ 2009 5 2009
ซาอุดีอาระเบีย อัล ฮิลาล อันดับที่ 2 ซาอุดิ โปรเฟสชันนัลลีก 2008-09 6 2009
ซาอุดีอาระเบีย อัล อะห์ลี อันดับที่ 3 ซาอุดิ โปรเฟสชันนัลลีก 2008-09 3 2008
อิหร่าน เอสเท็กฮะลาล ชนะเลิศ เปอร์เซีย กัลฟ์คัพ 2008-09 3 2009
อิหร่าน ซอบ อะฮาน ชนะเลิศ ฮัซฟีคัพ 2008-09,
รองชนะเลิศ เปอร์เซีย กัลฟ์คัพ 2008-09
2 2004
อิหร่าน เมส เคอมัน รองชนะเลิศ เปอร์เซีย กัลฟ์คัพ 2008-09 ครั้งแรก
อิหร่าน เซปาฮาน อันดับที่ 3 เปอร์เซีย กัลฟ์คัพ 2008-09 6 2009
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ อัล อะห์ลี ดูไบ ชนะเลิศ ยูเออี พรีเมียร์ลีก 2008-09 3 2009
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ อัล ไอน์ ชนะเลิศ ยูเออี เพรสซิเดนท์คัพ 2008-09 6 2007
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ อัล จาซิระ รองชนะเลิศ ยูเออี พรีเมียร์ลีก 2008-09 2 2009
ประเทศกาตาร์ อัล การะฟะ ชนะเลิศ กาตาร์ สตาร์ลีก 2008-09 4 2009
ประเทศกาตาร์ อัล ซัดด์ รองชนะเลิศ กาตาร์ สตาร์ลีก 2008-09 7 2008
อุซเบกิสถาน บุนยอดคอร์ ชนะเลิศ อุซเบกลีก 2009 3 2009
อุซเบกิสถาน ปักห์ตาคอร์ ชนะเลิศ อุซเบกิสถาน คัพ 2009 8 2009
ทีมชนะจากรอบคัดเลือก
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ อัล วาห์ดะ ชนะเลิศ ยูเออี พรีเมียร์ลีก 2008-09 5 2008
ทีมที่ตกรอบคัดเลือก
อินเดีย เชอร์ชิล บราเธอร์ ชนะเลิศ ไอลีก 2008-09
ซีเรีย อัล คะรามะห์ รองชนะเลิศ เอเอฟซีคัพ 2009
เอเชียตะวันออก (กลุ่ม อี-เอช)
ทีม เข้าแข่งขันในฐานะ ครั้งที่* ปีล่าสุด
เกาหลีใต้ ชอนบุก ฮุนได ชนะเลิศ เคลีก 2009 4 2007
เกาหลีใต้ ซูวอน บลูวิงส์ ชนะเลิศ โคเรียน เอฟเอคัพ 2009 3 2009
เกาหลีใต้ ซองนัม อิลฮวา รองชนะเลิศ เคลีก 2010 4 2007
เกาหลีใต้ โปฮัง สตีลเลอร์ส อันดับที่ 3 เคลีก 2010 3 2009
จีน ปักกิ่ง กั๋วอัน ชนะเลิศ ไชนิส ซูเปอร์ลีก 2009 3 2009
จีน ฉางชุน หย่าไถ่ รองชนะเลิศ ไชนิส ซูเปอร์ลีก 2009 2 2008
จีน เหอหนาน คอนสตรัคชั่น อันดับที่ 3 ไชนิส ซูเปอร์ลีก 2009 ครั้งแรก
จีน ซานตง หลูเหน็ง อันดับที่ 4 ไชนิส ซูเปอร์ลีก 2009 4 2009
ญี่ปุ่น คะชิมะ แอนท์เลอส์ ชนะเลิศ เจลีก 2009 4 2009
ญี่ปุ่น กัมบะ โอซะกะ ชนะเลิศ เอมเพอเรอคัพ 2009,
อันดับ3 เจลีก 2009
4 2009
ญี่ปุ่น คะวะซะกิ ฟรอนตาเล่ รองชนะเลิศ เจลีก 2009 3 2009
ญี่ปุ่น ซันเฟรซเช่ ฮิโระชิมะ อันดับที่ 4 เจลีก 2009 ครั้งแรก
ออสเตรเลีย เมลเบิร์น วิคเตอรี ชนะเลิศ เอลีก 2008-09 2 2008
ออสเตรเลีย แอเดเลด ยูไนเต็ด รองชนะเลิศ เอลีก 2008-09 3 2008
อินโดนีเซีย เปอซิปุระ ชัยปุระ ชนะเลิศ อินโดนีเซีย ซูเปอร์ลีก 2009-53 2 2007
ทีมชนะจากรอบคัดเลือก
สิงคโปร์ สิงคโปร์ อาร์มฟอร์ซ ชนะเลิศ เอสลีก 2009 2 2009
ทีมที่ตกรอบคัดเลือก
ไทย เมืองทอง ยูไนเต็ด ชนะเลิศ ไทยพรีเมียร์ลีก 2009
อินโดนีเซีย ศรีวิชัย เอฟซี ชนะเลิศ ปิอาลา อินโดนีเซีย 2008-09
เวียดนาม ดานัง เอฟซี อันดับที่ 3 วีลีก 2009

* จำนวนครั้งที่เข้าแข่งขันจะนับเฉพาะรอบแบ่งกลุ่ม 32 ทีมสุดท้ายเท่านั้น และเริ่มนับตั้งแต่ฤดูกาล 2002-03 เป็นต้นมา

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]