ข้ามไปเนื้อหา

เว็นทริคูลาร์ ฟิบริลเลชัน

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เว็นทริคูลาร์ ฟิบริลเลชัน
(Ventricular fibrillation)
ภาพคลื่นไฟฟ้าหัวใจแสดงให้เห็น VF
สาขาวิชาCardiology
อาการCardiac arrest with loss of consciousness and no pulse[1]
สาเหตุCoronary heart disease (including myocardial infarction), valvular heart disease, cardiomyopathy, Brugada syndrome, long QT syndrome, intracranial hemorrhage[2][1]
วิธีวินิจฉัยElectrocardiogram[1]
โรคอื่นที่คล้ายกันTorsades de pointes[1]
การรักษาCardiopulmonary resuscitation (CPR) with defibrillation[3]
พยากรณ์โรคSurvival rate 17% (out of hospital), 46% (in hospital)[4][1]
ความชุก~10% of people in cardiac arrest[1]

เว็นทริคูลาร์ ฟิบริลเลชัน (อังกฤษ: ventricular fibrillation,VF, V-Fib) หรือ หัวใจห้องล่างเต้นแผ่วระรัว เป็นภาวะซึ่งมีการหดตัวของกล้ามเนื้อหัวใจห้องล่างอย่างไม่สัมพันธ์กัน จึงเหมือนเป็นการเต้นแผ่วระรัวซึ่งไม่ทำให้เกิดการไหลเวียนของเลือด ไม่สามารถคลำชีพจรได้ เป็นภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะที่ยืนยันการวินิจฉัยได้ด้วยการตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจเท่านั้น ถือเป็นภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์ที่จำเป็นต้องได้รับการกู้ชีพทันทีเนื่องจากหากการเต้นแบบฟิบริลเลชันนี้ดำเนินไปอีกไม่กี่วินาทีอาจกลายเป็นหัวใจหยุดเต้นได้ ภาวะเช่นนี้ทำให้เกิดภาวะช็อคเหตุหัวใจ ไม่มีการไหลเวียนของเลือด และทำให้เสียชีวิตได้ภายในไม่กี่นาที หากได้รับการกู้ชีพขึ้นมาไม่ทันท่วงที ทำให้สมองขาดออกซิเจนเกินกว่าระยะเวลาหนึ่ง (ประมาณ 5 นาทีที่อุณหภูมิห้อง) อาจมีความเสียหายของสมองอย่างไม่สามารถทำให้กลับคืนเป็นปกติได้หรือถึงขั้นสมองตายได้

อ้างอิง

[แก้]
  1. 1.0 1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ Bal2016
  2. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ NIH2011
  3. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ AHA2015Part1
  4. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ OHCA2010

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]
การจำแนกโรค
ทรัพยากรภายนอก