ข้ามไปเนื้อหา

วอลเลย์บอลหญิงทีมชาติจีนไทเป

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จีนไทเป
สมาคมสมาคมวอลเลย์บอลจีนไทเป
สมาพันธ์สมาพันธ์วอลเลย์บอลเอเชีย
อันดับเอฟไอวีบี46 (ณ 3 มิถุนายน 2024)
เครื่องแบบ
เหย้า
ชิงแชมป์โลก
เข้าร่วมแข่งขัน2 (ครั้งแรกเมื่อ 1990)
ผลการแข่งที่ดีที่สุดอันดับที่ 11 (1990)
วอลเลย์บอลหญิงทีมชาติจีนไทเป
เหรียญรางวัล
เอเชียนเกมส์
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 2006 โดฮา ทีม

วอลเลย์บอลหญิงทีมชาติจีนไทเป (จีน: 中華台北女子排球代表隊) เป็นตัวแทนของสาธารณรัฐจีน (ประเทศไต้หวัน)ในการแข่งขันวอลเลย์บอลนานาชาติรวมถึงนัดกระชับมิตร

ทีมนี้เคยได้รับเหรียญทองแดง จากการแข่งขันเอเชียนเกมส์ 2006 ที่โดฮา, ประเทศกาตาร์[1]

รายชื่อนักกีฬาชุดปัจจุบัน

[แก้]

รายชื่อนักกีฬาชุดใหญ่

[แก้]
เบอร์ ชื่อ-นามสกุล วันเกิด ส่วนสูง ตบ บล็อก สโมสร 2558 ตำแหน่ง
5 เฉิน อี้จู 21 ธันวาคม พ.ศ. 2532 173 290 275 - บอลเร็ว
6 เซียะ เชียนยี่ 25 กันยายน พ.ศ. 2533 165 280 275 จีนไทเป ไต้หวัน เพาเวอร์ ตัวเซต
7 เฉิน ว่านติง 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2533 178 290 280 จีนไทเป ไต้หวัน เพาเวอร์ บอลหัวเสา
8 หยาง อี้เฉิน 4 เมษายน พ.ศ. 2535 166 265 260 - ตัวเซต
9 ชาง เฉินอิน 28 มีนาคม พ.ศ. 2534 180 305 290 จีนไทเป เอ็น-ซี-เอส-ยู บอลหัวเสาหลัก
11 หวู ชูเฟิน 7 เมษายน พ.ศ. 2532 175 289 278 จีนไทเป ไต้หวัน เพาเวอร์ บอลเร็ว
12 หยาง เหมิงฮัว 15 สิงหาคม พ.ศ. 2534 170 285 275 จีนไทเป ไต้หวัน เพาเวอร์ ตัวรับอิสระ
13 เหวิน อีจู 31 ตุลาคม พ.ศ. 2534 175 295 285 จีนไทเป ไต้หวัน เพาเวอร์ บอลเร็ว
15 ลี จูหยิง 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2537 173 298 280 จีนไทเป เอ็น-ที-เอ็น-ยู บอลหัวเสาหลัก
16 เฉิน จูยา 26 สิงหาคม พ.ศ. 2540 178 306 298 - บอลหัวเสา
19 เจิ้ง วานหลิง 13 พฤษภาคม พ.ศ. 2539 171 290 277 จีนไทเป ที-เอส-เจ-เอช บอลเร็ว
20 หวาง สินทิง 17 ตุลาคม พ.ศ. 2535 177 302 290 จีนไทเป ไต้หวัน เพาเวอร์ บอลหัวเสา

รางวัล

[แก้]
  • กรีซ 2004 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • จีน 2008 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • สหราชอาณาจักร 2012 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • บราซิล 2016 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • ญี่ปุ่น 2020 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • ฝรั่งเศส 2024 :
  • สหรัฐ 2028 :
  • ญี่ปุ่น 1998 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • เยอรมนี 2002 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • ญี่ปุ่น 2006 : อันดับที่ 12
  • ญี่ปุ่น 2010 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • อิตาลี 2014 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • ญี่ปุ่น 2018 : ไม่ผ่านการคัดเลือก

วอลเลย์บอลเวิลด์กรังด์ปรีซ์

[แก้]
  • ฮ่องกง 2002 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • อิตาลี 2003 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • อิตาลี 2004 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • ญี่ปุ่น 2005 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • อิตาลี 2006 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • จีน 2007 : อันดับที่ 12
  • ญี่ปุ่น 2008 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • ญี่ปุ่น 2009 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • จีน 2010 : อันดับที่ 12
  • มาเก๊า 2011 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • จีน 2012 : อันดับที่ 16
  • ญี่ปุ่น 2013 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • ญี่ปุ่น 2014 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • สหรัฐ 2015 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • ไทย 2016 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • จีน 2017 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • ญี่ปุ่น 1994 อันดับที่ 4
  • ไทย 1998 อันดับที่ 5
  • เกาหลีใต้ 2002 อันดับที่ 4
  • ประเทศกาตาร์ 2006 เหรียญทองแดง
  • จีน 2010 อันดับที่ 7
  • เกาหลีใต้ 2014 อันดับที่ 5
  • อินโดนีเซีย
  • ญี่ปุ่น 1994 : อันดับ 4
  • ไทย 1998 : อันดับ 5
  • เกาหลีใต้ 2002 : อันดับ 4
  • ประเทศกาตาร์ 2006 : เหรียญทองแดง
  • จีน 2010 : อันดับ 7
  • เกาหลีใต้ 2014 : อันดับ 5
  • อินโดนีเซีย 2018 : อันดับ 9
  • จีน 2022 :
  • จีน 1987 : ไม่ได้เข้าร่วมการแข่งขัน
  • ฮ่องกง 1989 : อันดับ 4
  • ไทย 1991 : อันดับ 5
  • จีน 1993 : อันดับ 4
  • ไทย 1995 : อันดับ 4
  • ฟิลิปปินส์ 1997 : อันดับ 4
  • ฮ่องกง 1999 : อันดับ 5
  • ไทย 2001 : อันดับ 5
  • เวียดนาม 2003 : อันดับ 5
  • จีน 2005 : อันดับ 5
  • ไทย 2007 : อันดับ 6
  • เวียดนาม 2009 : อันดับ 6
  • จีนไทเป 2011 : อันดับ 5
  • ไทย 2013 : อันดับ 7
  • จีน 2015 : อันดับ 4
  • ฟิลิปปินส์ 2017 : อันดับ 6
  • เกาหลีใต้ 2019 : อันดับ 6
  • ไทย 2008 : อันดับที่ 6
  • จีน 2010 : อันดับที่ 6
  • คาซัคสถาน 2012 : อันดับที่ 7
  • จีน 2014 : อันดับที่ 6
  • เวียดนาม 2016 : อันดับที่ 5
  • ไทย 2018 : อันดับที่ 4
  • จีนไทเป 2020 :

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. "Chinese Taipei wins first women's volleyball medal at Asian Games". People's Daily. 2006-12-13.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]