ข้ามไปเนื้อหา

ภาษาแอราเมอิกใหม่

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ภาษาแอราเมอิกใหม่
แอราเมอิกสมัยใหม่
ภูมิภาค:อิรัก, อิหร่าน, ซีเรีย, ตุรกี, เลบานอน และชาวอัสซีเรียพลัดถิ่น
การจําแนก
ทางภาษาศาสตร์
:
แอโฟรเอชีแอติก
กลุ่มย่อย:
กลอตโตลอก:aram1259  (Aramaic)[1]

ภาษาแอราเมอิกใหม่ หรือ ภาษาแอราเมอิกสมัยใหม่ เป็นวิธภาษาของภาษาแอราเมอิกที่พัฒนาขึ้นในสมัยกลางตอนปลายถึงสมัยใหม่ตอนต้น และยังคงปรากฏเป็นภาษาถิ่น (ภาษาพูด) ในชุมชนที่พูดภาษาแอราเมอิกสมัยใหม่ในปัจจุบัน[2] การจำแนกภาษาแอราเมอิกใหม่เป็นหัวข้อที่นักวิชาการในด้านแอราเมอิกศึกษา (Aramaic studies) สนใจเป็นพิเศษ[3] โดยเสนอการจำแนกออกเป็นกลายแบบ เช่น สอง (ตะวันตกและตะวันออก), สาม (ตะวันตก, กลาง และตะวันออก) หรือสี่ (ตะวันตก, กลาง, ตะวันออกเฉียงเหนือ และตะวันออกเฉียงใต้) กลุ่มหลัก[4][5]

ในด้านภาษาศาสตร์สังคม ภาษาแอราเมอิกใหม่ได้รับการจำแนกตามเกณฑ์ภาษาศาสตร์ชาติพันธุ์และภาษาศาสตร์ศาสนาหลายแห่ง ครอบคลุมหลายเชื้อชาติและศาสนา และครอบคลุมกลุ่มที่นับถือศาสนาคริสต์, ยูดาห์, มันดาอี และอิสลาม[6]

อ้างอิง

[แก้]
  1. Nordhoff, Sebastian; Hammarström, Harald; Forkel, Robert; Haspelmath, Martin, บ.ก. (2013). "Aramaic". Glottolog 2.2. Leipzig: Max Planck Institute for Evolutionary Anthropology.
  2. Beyer 1986, p. 53.
  3. Brock 1989, p. 11–23.
  4. Yildiz 2000, p. 23–44.
  5. Kim 2008, p. 505–531.
  6. Heinrichs 1990.

ข้อมูล

[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]