ภาษาสโลวีเนีย

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ภาษาสโลวีเนีย
ภาษาสโลวีน
slovenski jezik, slovenščina
ออกเสียง[slɔˈʋèːnski ˈjɛ̀ːzik],[1][2] [slɔˈʋèːnʃt͡ʃina][3]
ประเทศที่มีการพูดสโลวีเนีย, อิตาลี (ในแคว้นปกครองตนเองฟรียูลี-เวเน็ตเซียจูเลีย), ออสเตรีย (ในรัฐคารินเทียและรัฐสตีเรีย), โครเอเชีย (ในอิสเตรีย), ฮังการี (ในเทศมณฑลว็อช)
จำนวนผู้พูด2.5 ล้านคน  (2010)[4]
ตระกูลภาษา
อินโด-ยูโรเปียน
ภาษาถิ่น
ภาษาถิ่นที่ยังไม่ได้จัดเข้ามาตรฐานอีกประมาณ 32 ภาษา
ระบบการเขียนอักษรละติน (ชุดตัวอักษรสโลวีเนีย)
อักษรเบรลล์สโลวีเนีย
สถานภาพทางการ
ภาษาทางการธงของประเทศสโลวีเนีย สโลวีเนีย
 สหภาพยุโรป
ภาษาชนกลุ่มน้อยที่รับรองในธงของประเทศออสเตรีย ออสเตรีย[ต้องการอ้างอิง]
ธงของประเทศฮังการี ฮังการี[ต้องการอ้างอิง]
ธงของประเทศอิตาลี อิตาลี[5]
ผู้วางระเบียบบัณฑิตยสถานวิทยาศาสตร์และอักษรศาสตร์สโลวีเนีย
รหัสภาษา
ISO 639-1sl
ISO 639-2slv
ISO 639-3slv
Linguasphere53-AAA-f (51 varieties)
บริเวณที่มีการพูดภาษาสโลวีเนีย
บทความนี้มีสัญลักษณ์สัทอักษรสากล หากระบบของคุณไม่รองรับการแสดงผลที่ถูกต้อง คุณอาจเห็นปรัศนี กล่อง หรือสัญลักษณ์อย่างอื่นแทนที่อักขระยูนิโคด

ภาษาสโลวีเนีย หรือ ภาษาสโลวีน (slovenski jezik หรือ slovenščina) เป็นภาษาหนึ่งในกลุ่มภาษาสลาฟใต้ มีผู้พูดอยู่ประมาณ 2.5 ล้านคนทั่วโลก เป็นภาษาราชการของประเทศสโลวีเนีย และยังเป็นหนึ่งในภาษาราชการของสหภาพยุโรปอีกด้วย

อ้างอิง[แก้]

  1. "Slovenski pravopis 2001: slovenski".
  2. "Slovenski pravopis 2001: jezik".
  3. "Slovenski pravopis 2001: slovenščina".
  4. "International Mother Language Day 2010". Statistical Office of the Republic of Slovenia. 19 February 2010. สืบค้นเมื่อ 29 January 2011.
  5. "Norme in materia di tutela delle minoranze linguistiche storiche".

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]

ไวยากรณ์[แก้]

ชุดข้อมูล[แก้]

พจนานุกรม[แก้]