ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พืชเมล็ดเปลือย"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Anonimeco (คุย | ส่วนร่วม)
ปรับปรุงบางส่วน
บรรทัด 8: บรรทัด 8:
| unranked_superdivisio = [[พืชมีเมล็ด|Spermatophyta]]
| unranked_superdivisio = [[พืชมีเมล็ด|Spermatophyta]]
| unranked_divisio = '''Gymnospermae''' (รวมสูญพันธุ์; [[พาราไฟลี|พาราไฟเลติก]])<br>
| unranked_divisio = '''Gymnospermae''' (รวมสูญพันธุ์; [[พาราไฟลี|พาราไฟเลติก]])<br>
'''Acrogymnospermae''' (เฉพาะที่ยังมีอยู่)
'''Acrogymnospermae''' (เฉพาะที่ยังหลงเหลือ)
| subdivision_ranks = [[Division (botany)|Divisions]]
| subdivision_ranks = [[Division (botany)|Divisions]]
| subdivision = [[พิโนฟิตา|Pinophyta]] (หรือ Coniferophyta) – Conifers<br>
| subdivision = [[พิโนฟิตา|Pinophyta]] (หรือ Coniferophyta) – Conifers<br>
บรรทัด 17: บรรทัด 17:
[[File:Encephalartos sclavoi reproductive cone.jpg|thumb|โคนของ ''[[Encephalartos sclavoi]]'' ที่มีความยาวกว่า 30 ซม.]]
[[File:Encephalartos sclavoi reproductive cone.jpg|thumb|โคนของ ''[[Encephalartos sclavoi]]'' ที่มีความยาวกว่า 30 ซม.]]


'''พืชเมล็ดเปลือย''' ({{lang-en|gymnosperms}}) หรือ '''Acrogymnospermae''' เป็น[[พืชมีเมล็ด]]กลุ่มหนึ่งที่ประกอบด้วย[[พิโนฟิตา|สน]] [[ปรง]] [[แปะก๊วย]] และ[[เนโทไฟตา]] คำ gymnosperm มาจากการรวมคำ[[ภาษากรีกโบราณ]] 2 คำคือ γυμνός (gumnós, “เปลือย”) และ σπέρμα (spérma, “เมล็ด”)<ref>{{cite web|url=https://www.merriam-webster.com/dictionary/gymnosperm|title=Definition of gymnosperm|website=Merriam-Webster|accessdate=February 18, 2021}}</ref> สาเหตุที่เรียกพืชเมล็ดเปลือยเนื่องจากเมล็ดไม่ได้ถูกห่อหุ้มด้วย[[รังไข่ (พฤกษศาสตร์)|รังไข่]]เพราะไม่มี[[ดอก]] และเมล็ดเจริญบนแผ่นใบหรือโคน<ref>{{cite web|url=https://sciencing.com/do-gymnosperms-produce-flowers-fruit-13428148.html|title=Do Gymnosperms Produce Flowers & Fruit?|author=Grant, Bonnie|website=Sciencing|date=July 21, 2017|accessdate=February 18, 2021}}</ref> ต่างจาก[[พืชดอก]]ที่เมล็ดห่อหุ้มด้วยรังไข่ซึ่งต่อมาเจริญเป็นผล<ref>{{cite web|url=https://www.thoughtco.com/what-are-gymnosperms-4164250|title=What Are Gymnosperms?|author=Bailey, Regina|website=ThoughtCo|date=May 2, 2018|accessdate=February 18, 2021}}</ref><ref>{{cite web|url=https://www.britannica.com/plant/gymnosperm|title=Gymnosperm plants|author=Delevoryas, Theodore|website=Britannica|accessdate=February 18, 2021}}</ref> หรือเมล็ดเจริญอยู่เดี่ยว ๆ ดังที่พบในสกุล ''[[Taxus]]'' ''[[Torreya]]'' และ ''Ginkgo''<ref name="TPL">{{cite web|url=http://www.theplantlist.org/browse/G/|title=Gymnosperms on The Plant List|publisher=Theplantlist.org|access-date=2013-07-24}}</ref>
'''พืชเมล็ดเปลือย''' ({{lang-en|gymnosperms}}) หรือ '''Acrogymnospermae''' เป็น[[พืชมีเมล็ด]]กลุ่มหนึ่งที่ประกอบด้วย[[พิโนฟิตา|สน]] [[ปรง]] [[แปะก๊วย]] และ[[เนโทไฟตา]] คำ gymnosperm มาจากการรวมคำ[[ภาษากรีกโบราณ]] 2 คำคือ γυμνός (gumnós, “เปลือย”) และ σπέρμα (spérma, “เมล็ด”)<ref>{{cite web|url=https://www.merriam-webster.com/dictionary/gymnosperm|title=Definition of gymnosperm|website=Merriam-Webster|accessdate=February 18, 2021}}</ref> สาเหตุที่เรียกพืชเมล็ดเปลือยเนื่องจากเมล็ดไม่ได้ถูกห่อหุ้มด้วย[[รังไข่ (พฤกษศาสตร์)|รังไข่]]เพราะไม่มี[[ดอก]] โดยเมล็ดเจริญบนแผ่นใบ โคน<ref>{{cite web|url=https://sciencing.com/do-gymnosperms-produce-flowers-fruit-13428148.html|title=Do Gymnosperms Produce Flowers & Fruit?|author=Grant, Bonnie|website=Sciencing|date=July 21, 2017|accessdate=February 18, 2021}}</ref> หรือเจริญอยู่เดี่ยว ๆ ดังที่พบในสกุล ''[[Taxus]]'' ''[[Torreya]]'' และ ''Ginkgo''<ref name="TPL">{{cite web|url=http://www.theplantlist.org/browse/G/|title=Gymnosperms on The Plant List|publisher=Theplantlist.org|access-date=2013-07-24}}</ref> ต่างจาก[[พืชดอก]]ที่เมล็ดห่อหุ้มด้วยรังไข่ซึ่งต่อมาเจริญเป็นผล<ref>{{cite web|url=https://www.thoughtco.com/what-are-gymnosperms-4164250|title=What Are Gymnosperms?|author=Bailey, Regina|website=ThoughtCo|date=May 2, 2018|accessdate=February 18, 2021}}</ref><ref>{{cite web|url=https://www.britannica.com/plant/gymnosperm|title=Gymnosperm plants|author=Delevoryas, Theodore|website=Britannica|accessdate=February 18, 2021}}</ref>


พืชเมล็ดเปลือยและพืชมีดอกเป็นสองกลุ่มที่รวมกันเป็นพืชมีเมล็ด (spermatophytes) พืชเมล็ดเปลือยประกอบด้วย 6 ไฟลัม 4 ไฟลัมที่ยังคงมีอยู่ ได้แก่ ไซแคโดไฟตา (Cycadophyta) กิงโกไฟตา (Ginkgophyta) เนโทไฟตา (Gnetophyta) และพิโนไฟตา (Pinophyta) ขณะที่อีก 2 ไฟลัมคือ [[เทอริโดสเปอร์มาโตไฟตา]] (Pteridospermatophyta) และ[[คอร์ไดทาเลส]] (Cordaitales) นั้นสูญพันธุ์แล้ว<ref name=":0">{{Cite book|title=Biology of Plants|last=Raven|first=P.H.|publisher=New York: W.H. Freeman and Co.|year=2013}}</ref>ในบรรดา 4 ไฟลัมที่ยังมีอยู่ สนเป็นไฟลัมที่มีจำนวนชนิดมากที่สุด รองลงมาคือปรง เนโทไฟต์ ([[สกุลมะเมื่อย]] [[เอฟิดรา]] [[เวลวิชเซีย]]) และแปะก๊วย
พืชเมล็ดเปลือยและพืชมีดอกเป็นสองกลุ่มที่รวมกันเป็นพืชมีเมล็ด (spermatophytes) พืชเมล็ดเปลือยประกอบด้วย 6 ไฟลัม 4 ไฟลัมที่ยังหลงเหลือ ได้แก่ ไซแคโดไฟตา (Cycadophyta) กิงโกไฟตา (Ginkgophyta) เนโทไฟตา (Gnetophyta) และพิโนไฟตา (Pinophyta) ขณะที่อีก 2 ไฟลัมคือ [[เทอริโดสเปอร์มาโตไฟตา]] (Pteridospermatophyta) และ[[คอร์ไดทาเลส]] (Cordaitales) นั้นสูญพันธุ์แล้ว<ref name=":0">{{Cite book|title=Biology of Plants|last=Raven|first=P.H.|publisher=New York: W.H. Freeman and Co.|year=2013}}</ref>ในบรรดา 4 ไฟลัมที่ยังหลงเหลือ สนเป็นไฟลัมที่มีจำนวนชนิดมากที่สุด รองลงมาคือปรง เนโทไฟต์ ([[สกุลมะเมื่อย]] [[เอฟิดรา]] [[เวลวิชเซีย]]) และแปะก๊วย


บางสกุล (''Pinus'') มีไมคอไรซามาอยู่ร่วมกับรากพืช บางสกุล (''Cycas'') มีรากพิเศษที่เรียกว่าคอรัลลอยด์ (coralloid) ที่มีแบคทีเรียตรึงไนโตรเจนมาอาศัยอยู่
บางสกุล (''Pinus'') มีไมคอไรซามาอยู่ร่วมกับรากพืช บางสกุล (''Cycas'') มีรากพิเศษที่เรียกว่าคอรัลลอยด์ (coralloid) ที่มีแบคทีเรียตรึงไนโตรเจนมาอาศัยอยู่
บรรทัด 26: บรรทัด 26:


== การจำแนกประเภท ==
== การจำแนกประเภท ==
การจำแนกประเภทอย่างเป็นทางการของพืชเมล็ดเปลือยที่ยังมีอยู่เรียกว่า Acrogymnospermae ซึ่งเป็น[[เคลด|กลุ่มโมโนไฟเลติก]]ใน[[พืชมีเมล็ด]]{{sfn|Cantino|2007}}<ref name=":2">{{cite journal|last1=Christenhusz|first1=M.J.M.|last2=Reveal|first2=J.L.|last3=Farjon|first3=A.|last4=Gardner|first4=M.F.|last5=Mill|first5=R.R.|last6=Chase|first6=M.W.|year=2011|title=A new classification and linear sequence of extant gymnosperms|url=http://www.mapress.com/phytotaxa/content/2011/f/pt00019p070.pdf|journal=Phytotaxa|volume=19|pages=55–70|doi=10.11646/phytotaxa.19.1.3}}</ref> กลุ่ม Gymnospermae ที่กว้างกว่ารวมถึงพืชเมล็ดเปลือยที่สูญพันธุ์และเชื่อว่าเป็น[[พาราไฟลี|กลุ่มพาราไฟเลติก]] ซึ่งฟอสซิลที่พบไม่เข้ากับพืช 4 กลุ่มที่ยังมีอยู่ โดยมีลักษณะเป็นพืชมีเมล็ดคล้าย[[เฟิร์น]] (บางครั้งเรียก[[เทอริโดสเปอร์มาโตไฟตา|เทอริโดสเปิร์ม]] หรือเฟิร์นมีเมล็ด)<ref>Hilton, Jason, and Richard M. Bateman. 2006. Pteridosperms are the backbone of seed-plant phylogeny. ''Journal of the Torrey Botanical Society'' 133: 119–168 ([http://www.bioone.org/perlserv/?request=get-abstract&doi=10.3159%2F1095-5674(2006)133%5B119%3APATBOS%5D2.0.CO%3B2&ct=1 abstract])</ref>
การจำแนกประเภทอย่างเป็นทางการของพืชเมล็ดเปลือยที่ยังมีหลงเหลือเรียกว่า Acrogymnospermae ซึ่งเป็น[[เคลด|กลุ่มโมโนไฟเลติก]]ใน[[พืชมีเมล็ด]]{{sfn|Cantino|2007}}<ref name=":2">{{cite journal|last1=Christenhusz|first1=M.J.M.|last2=Reveal|first2=J.L.|last3=Farjon|first3=A.|last4=Gardner|first4=M.F.|last5=Mill|first5=R.R.|last6=Chase|first6=M.W.|year=2011|title=A new classification and linear sequence of extant gymnosperms|url=http://www.mapress.com/phytotaxa/content/2011/f/pt00019p070.pdf|journal=Phytotaxa|volume=19|pages=55–70|doi=10.11646/phytotaxa.19.1.3}}</ref> กลุ่ม Gymnospermae ที่กว้างกว่ารวมถึงพืชเมล็ดเปลือยที่สูญพันธุ์และเชื่อว่าเป็น[[พาราไฟลี|กลุ่มพาราไฟเลติก]] ซึ่งฟอสซิลที่พบไม่เข้ากับพืช 4 กลุ่มที่ยังหลงเหลือ โดยมีลักษณะเป็นพืชมีเมล็ดคล้าย[[เฟิร์น]] (บางครั้งเรียก[[เทอริโดสเปอร์มาโตไฟตา|เทอริโดสเปิร์ม]] หรือเฟิร์นมีเมล็ด)<ref>Hilton, Jason, and Richard M. Bateman. 2006. Pteridosperms are the backbone of seed-plant phylogeny. ''Journal of the Torrey Botanical Society'' 133: 119–168 ([http://www.bioone.org/perlserv/?request=get-abstract&doi=10.3159%2F1095-5674(2006)133%5B119%3APATBOS%5D2.0.CO%3B2&ct=1 abstract])</ref>


ปัจจุบันพืชเมล็ดเปลือยที่ยังมีอยู่ประกอบด้วย 12 วงศ์หลัก 83 สกุล และมากกว่า 1,000 ชนิด<ref name="TPL" /><ref name=":2" /><ref name="Christenhusz-Byng2016">{{cite journal |author1=Christenhusz, M. J. M. |author2=Byng, J. W. | year = 2016 | title = The number of known plants species in the world and its annual increase | journal = Phytotaxa | volume = 261 | pages = 201–217 | url = http://biotaxa.org/Phytotaxa/article/download/phytotaxa.261.3.1/20598 | doi = 10.11646/phytotaxa.261.3.1 | issue = 3 | doi-access = free }}</ref>
ปัจจุบันพืชเมล็ดเปลือยที่ยังหลงเหลืออยู่ประกอบด้วย 12 วงศ์หลัก 83 สกุล และมากกว่า 1,000 ชนิด<ref name="TPL" /><ref name=":2" /><ref name="Christenhusz-Byng2016">{{cite journal |author1=Christenhusz, M. J. M. |author2=Byng, J. W. | year = 2016 | title = The number of known plants species in the world and its annual increase | journal = Phytotaxa | volume = 261 | pages = 201–217 | url = http://biotaxa.org/Phytotaxa/article/download/phytotaxa.261.3.1/20598 | doi = 10.11646/phytotaxa.261.3.1 | issue = 3 | doi-access = free }}</ref>


ชั้นย่อย '''[[Cycadidae]]'''
ชั้นย่อย '''[[Cycadidae]]'''
* อันดับ '''[[Cycadales]]'''
* อันดับ '''[[Cycadales]]'''
** วงศ์ '''[[Cycadaceae]]''': ''Cycas''
** วงศ์ '''[[Cycadaceae]]''': ''Cycas''
** วงศ์ '''[[Zamiaceae]]''': ''Dioon'', ''Bowenia'', ''Macrozamia'', ''Lepidozamia'', ''Encephalartos'', ''Stangeria'', ''Ceratozamia'', ''Microcycas'', ''Zamia''.
** วงศ์ '''[[Zamiaceae]]''': ''Dioon'', ''Bowenia'', ''Macrozamia'', ''Lepidozamia'', ''Encephalartos'', ''Stangeria'', ''Ceratozamia'', ''Microcycas'', ''Zamia''


ชั้นย่อย '''[[Ginkgoidae]]'''
ชั้นย่อย '''[[Ginkgoidae]]'''
บรรทัด 66: บรรทัด 66:
* อันดับ '''[[Czekanowskiales]]'''
* อันดับ '''[[Czekanowskiales]]'''


==ความหลากหลายและต้นกำเนิด==
== ความหลากหลายและต้นกำเนิด ==
ปัจจุบันมีพืชเมล็ดเปลือยอยู่มากกว่า 1,000 สปีชีส์<ref name="TPL" /> เป็นที่ยอมรับในวงกว้างว่าพืชเมล็ดเปลือยมีกำเนิดในตอนปลายของ[[ยุคคาร์บอนิเฟอรัส]] และเข้าแทนที่ป่าฝน[[ไลโคไฟต์]]ในเขตร้อน<ref name="SahneyBentonFerry2010RainforestCollapse">{{cite journal | author= Sahney, S. | author2= Benton, M.J. | author3= Falcon-Lang, H.J. | name-list-style= amp | year=2010 | title= Rainforest collapse triggered Pennsylvanian tetrapod diversification in Euramerica | journal=Geology | volume = 38 | pages = 1079–1082 | doi=10.1130/G31182.1 | issue=12 | bibcode=2010Geo....38.1079S}}</ref><ref>Campbell and Reece; Biology, Eighth edition</ref> เชื่อว่าเป็นผลของการทำสำเนาของยีนทั้งชุดเมื่อประมาณ 319 ล้านปีที่แล้ว<ref name="Jiao2011">Jiao Y, Wickett NJ, Ayyampalayam S, Chanderbali AS, Landherr L, Ralph PE, Tomsho LP, Hu Y, Liang H, [[Soltis PS]], [[Douglas E. Soltis|Soltis DE]], Clifton SW, Schlarbaum SE, Schuster SC, Ma H, Leebens-Mack J, Depamphilis CW (2011) Ancestral polyploidy in seed plants and angiosperms. Nature</ref> ลักษณะเฉพาะของพืชมีเมล็ดในช่วงแรก ๆ เป็นที่ประจักษ์ในซากดึกดำบรรพ์ของพืชกลุ่ม[[โพรจิมโนสเปิร์ม]] (progymnosperm) จาก[[ยุคดีโวเนียน]]ตอนปลาย เมื่อประมาณ 383 ล้านปีที่แล้ว ยังมีข้อเสนออีกว่า ในตอนกลางของมหายุคมีโซโซอิก การถ่ายเรณูของพืชเมล็ดเปลือยที่สูญพันธ์ุไปแล้วบางกลุ่ม ถูกกระทำโดย[[Mecoptera|แมลงแมงป่อง]]สปีชีส์ที่สูญพันธ์ุไปแล้ว แมลงนี้มีการพัฒนา[[proboscis|งวง]] (proboscis) ขึ้นมาเพื่อดูดกินน้ำต้อย และเป็นไปได้ว่ามีความสัมพันธ์แบบพึ่งพาจากการถ่ายเรณูกับพืชเมล็ดเปลือย โดยเกิดขึ้นมาก่อนที่จะพบวิวัฒนาการร่วมอีกแบบที่ใกล้เคียงกันจากแมลงที่กินน้ำหวานของพืชมีดอก<ref>{{cite journal | last1 = Ollerton | first1 = J. | last2 = Coulthard | first2 = E. | year = 2009 | title = Evolution of Animal Pollination | journal = Science | volume = 326 | issue = 5954| pages = 808–809 | doi = 10.1126/science.1181154 | pmid = 19892970 | bibcode = 2009Sci...326..808O | s2cid = 856038 }}</ref><ref name="Ren">{{cite journal | last1 = Ren | first1 = D | last2 = Labandeira | first2 = CC | last3 = Santiago-Blay | first3 = JA | last4 = Rasnitsyn | first4 = A | last5 = Shih | first5 = CK | last6 = Bashkuev | first6 = A | last7 = Logan | first7 = MA | last8 = Hotton | first8 = CL | last9 = Dilcher | first9 = D. |display-authors=4 | year = 2009 | title = A Probable Pollination Mode Before Angiosperms: Eurasian, Long-Proboscid Scorpionflies | journal = Science | volume = 326 | issue = 5954| pages = 840–847 | doi = 10.1126/science.1178338 | pmid = 19892981 | pmc = 2944650 | bibcode = 2009Sci...326..840R }}</ref> นอกจากนี้มีการค้นพบหลักฐานที่ว่า เรณูของพืชเมล็ดเปลือยในตอนกลางของมหายุคมีโซโซอิกถูกผสมโดยผีเสื้อในวงศ์ [[Kalligrammatidae]] ซึ่งสูญพันธุ์แล้ว สมาชิกในวงศ์นี้มีความคล้ายคลึงกับผีเสื้อยุคใหม่ที่เกิดขึ้นหลังจากนั้นนานมาก<ref>{{cite journal | title=The evolutionary convergence of mid-Mesozoic lacewings and Cenozoic butterflies | journal = Proceedings of the Royal Society B: Biological Sciences | last1=Labandeira | first1=Conrad C. | last2=Yang | first2=Qiang | last3=Santiago-Blay | first3=Jorge A. | last4=Hotton | first4=Carol L. | last5=Monteiro | first5=Antónia | last6=Wang | first6=Yong-Jie | last7=Goreva | first7=Yulia | last8=Shih | first8=ChungKun | last9=Siljeström | first9=Sandra | last10=Rose | first10=Tim R. | last11=Dilcher | first11=David L. | last12=Ren | first12=Dong | volume = 283 | issue = 1824| doi=10.1098/rspb.2015.2893 | pages=20152893 | pmid=26842570 | pmc=4760178| year = 2016 }}</ref>
ปัจจุบันมีพืชเมล็ดเปลือยอยู่มากกว่า 1,000 สปีชีส์<ref name="TPL" /> เป็นที่ยอมรับในวงกว้างว่าพืชเมล็ดเปลือยมีกำเนิดในตอนปลายของ[[ยุคคาร์บอนิเฟอรัส]] และเข้าแทนที่ป่าฝน[[ไฟลัมไลโคไฟตา|ไลโคไฟต์]]ในเขตร้อน<ref name="SahneyBentonFerry2010RainforestCollapse">{{cite journal | author= Sahney, S. | author2= Benton, M.J. | author3= Falcon-Lang, H.J. | name-list-style= amp | year=2010 | title= Rainforest collapse triggered Pennsylvanian tetrapod diversification in Euramerica | journal=Geology | volume = 38 | pages = 1079–1082 | doi=10.1130/G31182.1 | issue=12 | bibcode=2010Geo....38.1079S}}</ref><ref>Campbell and Reece; Biology, Eighth edition</ref> เชื่อว่าเป็นผลของการทำสำเนาของยีนทั้งชุดเมื่อประมาณ 319 ล้านปีที่แล้ว<ref name="Jiao2011">Jiao Y, Wickett NJ, Ayyampalayam S, Chanderbali AS, Landherr L, Ralph PE, Tomsho LP, Hu Y, Liang H, [[Soltis PS]], [[Douglas E. Soltis|Soltis DE]], Clifton SW, Schlarbaum SE, Schuster SC, Ma H, Leebens-Mack J, Depamphilis CW (2011) Ancestral polyploidy in seed plants and angiosperms. Nature</ref> ลักษณะเฉพาะของพืชมีเมล็ดในช่วงแรก ๆ เป็นที่ประจักษ์ในซากดึกดำบรรพ์ของพืชกลุ่ม[[โพรจิมโนสเปิร์ม]] (progymnosperm) จาก[[ยุคดีโวเนียน]]ตอนปลาย เมื่อประมาณ 383 ล้านปีที่แล้ว ยังมีข้อเสนออีกว่า ในตอนกลางของมหายุคมีโซโซอิก การถ่ายเรณูของพืชเมล็ดเปลือยที่สูญพันธ์ุไปแล้วบางกลุ่ม ถูกกระทำโดย[[Mecoptera|แมลงแมงป่อง]]สปีชีส์ที่สูญพันธ์ุไปแล้ว แมลงนี้มีการพัฒนา[[proboscis|งวง]] (proboscis) ขึ้นมาเพื่อดูดกินน้ำต้อย และเป็นไปได้ว่ามีความสัมพันธ์แบบพึ่งพาจากการถ่ายเรณูกับพืชเมล็ดเปลือย โดยเกิดขึ้นมาก่อนที่จะพบวิวัฒนาการร่วมอีกแบบที่ใกล้เคียงกันจากแมลงที่กินน้ำหวานของพืชมีดอก<ref>{{cite journal | last1 = Ollerton | first1 = J. | last2 = Coulthard | first2 = E. | year = 2009 | title = Evolution of Animal Pollination | journal = Science | volume = 326 | issue = 5954| pages = 808–809 | doi = 10.1126/science.1181154 | pmid = 19892970 | bibcode = 2009Sci...326..808O | s2cid = 856038 }}</ref><ref name="Ren">{{cite journal | last1 = Ren | first1 = D | last2 = Labandeira | first2 = CC | last3 = Santiago-Blay | first3 = JA | last4 = Rasnitsyn | first4 = A | last5 = Shih | first5 = CK | last6 = Bashkuev | first6 = A | last7 = Logan | first7 = MA | last8 = Hotton | first8 = CL | last9 = Dilcher | first9 = D. |display-authors=4 | year = 2009 | title = A Probable Pollination Mode Before Angiosperms: Eurasian, Long-Proboscid Scorpionflies | journal = Science | volume = 326 | issue = 5954| pages = 840–847 | doi = 10.1126/science.1178338 | pmid = 19892981 | pmc = 2944650 | bibcode = 2009Sci...326..840R }}</ref> นอกจากนี้มีการค้นพบหลักฐานที่ว่า เรณูของพืชเมล็ดเปลือยในตอนกลางของมหายุคมีโซโซอิกถูกผสมโดยผีเสื้อในวงศ์ [[Kalligrammatidae]] ซึ่งสูญพันธุ์แล้ว สมาชิกในวงศ์นี้มีความคล้ายคลึงกับผีเสื้อยุคใหม่ที่เกิดขึ้นหลังจากนั้นนานมาก<ref>{{cite journal | title=The evolutionary convergence of mid-Mesozoic lacewings and Cenozoic butterflies | journal = Proceedings of the Royal Society B: Biological Sciences | last1=Labandeira | first1=Conrad C. | last2=Yang | first2=Qiang | last3=Santiago-Blay | first3=Jorge A. | last4=Hotton | first4=Carol L. | last5=Monteiro | first5=Antónia | last6=Wang | first6=Yong-Jie | last7=Goreva | first7=Yulia | last8=Shih | first8=ChungKun | last9=Siljeström | first9=Sandra | last10=Rose | first10=Tim R. | last11=Dilcher | first11=David L. | last12=Ren | first12=Dong | volume = 283 | issue = 1824| doi=10.1098/rspb.2015.2893 | pages=20152893 | pmid=26842570 | pmc=4760178| year = 2016 }}</ref>


[[File:Zamia integrifolia02.jpg|thumb|''Zamia integrifolia'' พืชพื้นถิ่นของฟลอริดา]]
[[File:Zamia integrifolia02.jpg|thumb|''Zamia integrifolia'' พืชพื้นถิ่นของฟลอริดา]]
พืขกลุ่มสนเป็นพืชเมล็ดเปลือยที่หลงเหลืออยู่ที่มีความหลากหลายมากที่สุด โดยมีอยู่เจ็ดถึงแปดวงศ์ รวม 65–70 สกุล และ 600–630 สปีชีส์ (มีอยู่ 696 ชื่อที่ยอมรับกัน)<ref name="Catalogue">[http://www.catalogueoflife.org/show_database_details.php?database_name=Conifer+Database Catalogue of Life: 2007 Annual checklist – Conifer database] {{webarchive |url=https://web.archive.org/web/20090115190412/http://www.catalogueoflife.org/show_database_details.php?database_name=Conifer+Database |date=January 15, 2009 }}</ref> สนเป็นไม้เนื้อเแข็ง ส่วนมากไม่ผลัด[[ใบไม้|ใบ]]<ref>Campbell, Reece, "Phylum Coniferophyta."Biology. 7th. 2005. Print. P.595</ref> ใบมีลักษณะยาว เรียวแหลมเหมือนเข็ม สมาชิกส่วนใหญ่ในวงศ์ Cupressaceae และบางส่วนใน Podocarpaceae มีใบแบนรูปสามเหลี่ยม คล้ายเกล็ดปลา สำหรับสกุล [[Agathis]] ในวงศ์ Araucariaceae และสกุล [[Nageia]] ในวงศ์ Podocarpaceae มีใบแบนกว้าง ลักษณะคล้ายสายรัด
พืขกลุ่มสนเป็นพืชเมล็ดเปลือยที่หลงเหลืออยู่ที่มีความหลากหลายมากที่สุด โดยมีอยู่เจ็ดถึงแปดวงศ์ รวม 65–70 สกุล และ 600–630 สปีชีส์ (มีอยู่ 696 ชื่อที่ยอมรับกัน)<ref name="Catalogue">[http://www.catalogueoflife.org/show_database_details.php?database_name=Conifer+Database Catalogue of Life: 2007 Annual checklist – Conifer database] {{webarchive |url=https://web.archive.org/web/20090115190412/http://www.catalogueoflife.org/show_database_details.php?database_name=Conifer+Database |date=January 15, 2009 }}</ref> สนเป็นไม้เนื้อเแข็ง ส่วนมากไม่ผลัด[[ใบไม้|ใบ]]<ref>Campbell, Reece, "Phylum Coniferophyta."Biology. 7th. 2005. Print. P.595</ref> ใบมีลักษณะยาว เรียวแหลมเหมือนเข็ม สมาชิกส่วนใหญ่ในวงศ์ Cupressaceae และบางส่วนใน Podocarpaceae มีใบแบนรูปสามเหลี่ยม คล้ายเกล็ดปลา สำหรับสกุล ''[[Agathis]]'' ในวงศ์ Araucariaceae และสกุล ''[[Nageia]]'' ในวงศ์ Podocarpaceae มีใบแบนกว้าง ลักษณะคล้ายสายรัด


กลุ่ม[[ปรง]]เป็นกลุ่มที่มีความหลากหลายรองลงมา โดยมีสองหรือสามวงศ์ 11 สกุล ประมาณ 338 สปีชีส์ ส่วนใหญ่มีถิ่นกำเนิดอยู่ในภูมิอากาศเขตร้อน และพบได้มากที่สุดในบริเวณใกล้เส้นศูนย์สูตร พืชเมล็ดเปลือยอีกพวกที่ยังคงเหลืออยู่ได้แก่กลุ่ม[[มะเมื่อย]]และ[[แปะก๊วย]] ที่รวมกันได้ประมาณ 95–100 สปีชีส์<ref name=":0" />
กลุ่ม[[ปรง]]เป็นกลุ่มที่มีความหลากหลายรองลงมา โดยมีสองหรือสามวงศ์ 11 สกุล ประมาณ 338 สปีชีส์ ส่วนใหญ่มีถิ่นกำเนิดอยู่ในภูมิอากาศเขตร้อน และพบได้มากที่สุดในบริเวณใกล้เส้นศูนย์สูตร พืชเมล็ดเปลือยอีกพวกที่ยังคงเหลืออยู่ได้แก่กลุ่ม[[มะเมื่อย]]และ[[แปะก๊วย]] ที่รวมกันได้ประมาณ 95–100 สปีชีส์<ref name=":0" />
บรรทัด 90: บรรทัด 90:
}}
}}


==คุณค่า==
== คุณค่า ==
พืชเมล็ดเปลือยมีคุณค่าทางเศรษฐกิจ [[เกี๊ยะ]] [[เฟอร์]] [[สปรูซ]] และ[[ซีดาร์]]เป็นตัวอย่างพืชกลุ่มสนที่นำมาทำเป็นไม้แปรรูป ผลิตกระดาษ และเรซิน ประโยชน์อื่น ๆ ของพืชเมล็ดเปลือย ได้แก่ [[สบู่]] [[สารเคลือบเงา]] [[ยาทาเล็บ]] [[น้ำหอม]] และ[[อาหาร]]
พืชเมล็ดเปลือยมีคุณค่าทางเศรษฐกิจ [[เกี๊ยะ]] [[เฟอร์]] [[สปรูซ]] และ[[ซีดาร์]]เป็นตัวอย่างพืชกลุ่มสนที่นำมาทำเป็นไม้แปรรูป ผลิตกระดาษ และเรซิน ประโยชน์อื่น ๆ ของพืชเมล็ดเปลือย ได้แก่ [[สบู่]] [[สารเคลือบเงา]] [[ยาทาเล็บ]] [[น้ำหอม]] และ[[อาหาร]]



รุ่นแก้ไขเมื่อ 20:32, 18 กุมภาพันธ์ 2564

พืชเมล็ดเปลือย (Gymnospermae)
ช่วงเวลาที่มีชีวิตอยู่: ยุคคาร์บอนิเฟอรัสปัจจุบัน
พืชเมล็ดเปลือยหลากชนิด
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์
อาณาจักร: Plantae
อาณาจักรย่อย: Embryophyta
ไม่ได้จัดลำดับ: Spermatophyta
ไม่ได้จัดลำดับ: Gymnospermae (รวมสูญพันธุ์; พาราไฟเลติก)

Acrogymnospermae (เฉพาะที่ยังหลงเหลือ)

Divisions

Pinophyta (หรือ Coniferophyta) – Conifers
GinkgophytaGinkgo
Cycadophyta – Cycads
GnetophytaGnetum, Ephedra, Welwitschia

โคนของ Encephalartos sclavoi ที่มีความยาวกว่า 30 ซม.

พืชเมล็ดเปลือย (อังกฤษ: gymnosperms) หรือ Acrogymnospermae เป็นพืชมีเมล็ดกลุ่มหนึ่งที่ประกอบด้วยสน ปรง แปะก๊วย และเนโทไฟตา คำ gymnosperm มาจากการรวมคำภาษากรีกโบราณ 2 คำคือ γυμνός (gumnós, “เปลือย”) และ σπέρμα (spérma, “เมล็ด”)[1] สาเหตุที่เรียกพืชเมล็ดเปลือยเนื่องจากเมล็ดไม่ได้ถูกห่อหุ้มด้วยรังไข่เพราะไม่มีดอก โดยเมล็ดเจริญบนแผ่นใบ โคน[2] หรือเจริญอยู่เดี่ยว ๆ ดังที่พบในสกุล Taxus Torreya และ Ginkgo[3] ต่างจากพืชดอกที่เมล็ดห่อหุ้มด้วยรังไข่ซึ่งต่อมาเจริญเป็นผล[4][5]

พืชเมล็ดเปลือยและพืชมีดอกเป็นสองกลุ่มที่รวมกันเป็นพืชมีเมล็ด (spermatophytes) พืชเมล็ดเปลือยประกอบด้วย 6 ไฟลัม 4 ไฟลัมที่ยังหลงเหลือ ได้แก่ ไซแคโดไฟตา (Cycadophyta) กิงโกไฟตา (Ginkgophyta) เนโทไฟตา (Gnetophyta) และพิโนไฟตา (Pinophyta) ขณะที่อีก 2 ไฟลัมคือ เทอริโดสเปอร์มาโตไฟตา (Pteridospermatophyta) และคอร์ไดทาเลส (Cordaitales) นั้นสูญพันธุ์แล้ว[6]ในบรรดา 4 ไฟลัมที่ยังหลงเหลือ สนเป็นไฟลัมที่มีจำนวนชนิดมากที่สุด รองลงมาคือปรง เนโทไฟต์ (สกุลมะเมื่อย เอฟิดรา เวลวิชเซีย) และแปะก๊วย

บางสกุล (Pinus) มีไมคอไรซามาอยู่ร่วมกับรากพืช บางสกุล (Cycas) มีรากพิเศษที่เรียกว่าคอรัลลอยด์ (coralloid) ที่มีแบคทีเรียตรึงไนโตรเจนมาอาศัยอยู่

พืชเมล็ดเปลือยมีช่วงสปอโรไฟต์เป็นช่วงเด่นในวงจรชีวิตเช่นเดียวกับพืชมีท่อลำเลียง สปอร์สองชนิดคือไมโครสปอร์และเมกะสปอร์จะถูกสร้างที่โคนเพศผู้และโคนเพศเมียตามลำดับ ในช่วงแกมีโตไฟต์ จะมีการสร้างละอองเรณูจากไมโครสปอร์ ขณะที่เมกะแกมีโตไฟต์หรือเซลล์ไข่จะถูกสร้างจากเมกะสปอร์และถูกเก็บไว้ในออวุล ระหว่างการถ่ายเรณู ละอองเรณูจะถูกลมหรือแมลงพาไปยังออวุลของอีกต้น ละอองเรณูจะผ่านเข้าช่องเล็ก ๆ ของเยื่อหุ้มออวุลไปพบกับเซลล์ไข่และเกิดการปฏิสนธิ หลังจากนั้นไซโกตจะพัฒนาเป็นเอ็มบริโอและเมล็ด

การจำแนกประเภท

การจำแนกประเภทอย่างเป็นทางการของพืชเมล็ดเปลือยที่ยังมีหลงเหลือเรียกว่า Acrogymnospermae ซึ่งเป็นกลุ่มโมโนไฟเลติกในพืชมีเมล็ด[7][8] กลุ่ม Gymnospermae ที่กว้างกว่ารวมถึงพืชเมล็ดเปลือยที่สูญพันธุ์และเชื่อว่าเป็นกลุ่มพาราไฟเลติก ซึ่งฟอสซิลที่พบไม่เข้ากับพืช 4 กลุ่มที่ยังหลงเหลือ โดยมีลักษณะเป็นพืชมีเมล็ดคล้ายเฟิร์น (บางครั้งเรียกเทอริโดสเปิร์ม หรือเฟิร์นมีเมล็ด)[9]

ปัจจุบันพืชเมล็ดเปลือยที่ยังหลงเหลืออยู่ประกอบด้วย 12 วงศ์หลัก 83 สกุล และมากกว่า 1,000 ชนิด[3][8][10]

ชั้นย่อย Cycadidae

  • อันดับ Cycadales
    • วงศ์ Cycadaceae: Cycas
    • วงศ์ Zamiaceae: Dioon, Bowenia, Macrozamia, Lepidozamia, Encephalartos, Stangeria, Ceratozamia, Microcycas, Zamia

ชั้นย่อย Ginkgoidae

ชั้นย่อย Gnetidae

ชั้นย่อย Pinidae

  • อันดับ Pinales
    • วงศ์ Pinaceae: Cedrus, Pinus, Cathaya, Picea, Pseudotsuga, Larix, Pseudolarix, Tsuga, Nothotsuga, Keteleeria, Abies
  • อันดับ Araucariales
    • วงศ์ Araucariaceae: Araucaria, Wollemia, Agathis
    • วงศ์ Podocarpaceae: Phyllocladus, Lepidothamnus, Prumnopitys, Sundacarpus, Halocarpus, Parasitaxus, Lagarostrobos, Manoao, Saxegothaea, Microcachrys, Pherosphaera, Acmopyle, Dacrycarpus, Dacrydium, Falcatifolium, Retrophyllum, Nageia, Afrocarpus, Podocarpus
  • อันดับ Cupressales
    • วงศ์ Sciadopityaceae: Sciadopitys
    • วงศ์ Cupressaceae: Cunninghamia, Taiwania, Athrotaxis, Metasequoia, Sequoia, Sequoiadendron, Cryptomeria, Glyptostrobus, Taxodium, Papuacedrus, Austrocedrus, Libocedrus, Pilgerodendron, Widdringtonia, Diselma, Fitzroya, Callitris, Actinostrobus, Neocallitropsis, Thujopsis, Thuja, Fokienia, Chamaecyparis, Cupressus, Juniperus, Calocedrus, Tetraclinis, Platycladus, Microbiota
    • วงศ์ Taxaceae: Austrotaxus, Pseudotaxus, Taxus, Cephalotaxus, Amentotaxus, Torreya

สูญพันธุ์แล้ว

ความหลากหลายและต้นกำเนิด

ปัจจุบันมีพืชเมล็ดเปลือยอยู่มากกว่า 1,000 สปีชีส์[3] เป็นที่ยอมรับในวงกว้างว่าพืชเมล็ดเปลือยมีกำเนิดในตอนปลายของยุคคาร์บอนิเฟอรัส และเข้าแทนที่ป่าฝนไลโคไฟต์ในเขตร้อน[11][12] เชื่อว่าเป็นผลของการทำสำเนาของยีนทั้งชุดเมื่อประมาณ 319 ล้านปีที่แล้ว[13] ลักษณะเฉพาะของพืชมีเมล็ดในช่วงแรก ๆ เป็นที่ประจักษ์ในซากดึกดำบรรพ์ของพืชกลุ่มโพรจิมโนสเปิร์ม (progymnosperm) จากยุคดีโวเนียนตอนปลาย เมื่อประมาณ 383 ล้านปีที่แล้ว ยังมีข้อเสนออีกว่า ในตอนกลางของมหายุคมีโซโซอิก การถ่ายเรณูของพืชเมล็ดเปลือยที่สูญพันธ์ุไปแล้วบางกลุ่ม ถูกกระทำโดยแมลงแมงป่องสปีชีส์ที่สูญพันธ์ุไปแล้ว แมลงนี้มีการพัฒนางวง (proboscis) ขึ้นมาเพื่อดูดกินน้ำต้อย และเป็นไปได้ว่ามีความสัมพันธ์แบบพึ่งพาจากการถ่ายเรณูกับพืชเมล็ดเปลือย โดยเกิดขึ้นมาก่อนที่จะพบวิวัฒนาการร่วมอีกแบบที่ใกล้เคียงกันจากแมลงที่กินน้ำหวานของพืชมีดอก[14][15] นอกจากนี้มีการค้นพบหลักฐานที่ว่า เรณูของพืชเมล็ดเปลือยในตอนกลางของมหายุคมีโซโซอิกถูกผสมโดยผีเสื้อในวงศ์ Kalligrammatidae ซึ่งสูญพันธุ์แล้ว สมาชิกในวงศ์นี้มีความคล้ายคลึงกับผีเสื้อยุคใหม่ที่เกิดขึ้นหลังจากนั้นนานมาก[16]

Zamia integrifolia พืชพื้นถิ่นของฟลอริดา

พืขกลุ่มสนเป็นพืชเมล็ดเปลือยที่หลงเหลืออยู่ที่มีความหลากหลายมากที่สุด โดยมีอยู่เจ็ดถึงแปดวงศ์ รวม 65–70 สกุล และ 600–630 สปีชีส์ (มีอยู่ 696 ชื่อที่ยอมรับกัน)[17] สนเป็นไม้เนื้อเแข็ง ส่วนมากไม่ผลัดใบ[18] ใบมีลักษณะยาว เรียวแหลมเหมือนเข็ม สมาชิกส่วนใหญ่ในวงศ์ Cupressaceae และบางส่วนใน Podocarpaceae มีใบแบนรูปสามเหลี่ยม คล้ายเกล็ดปลา สำหรับสกุล Agathis ในวงศ์ Araucariaceae และสกุล Nageia ในวงศ์ Podocarpaceae มีใบแบนกว้าง ลักษณะคล้ายสายรัด

กลุ่มปรงเป็นกลุ่มที่มีความหลากหลายรองลงมา โดยมีสองหรือสามวงศ์ 11 สกุล ประมาณ 338 สปีชีส์ ส่วนใหญ่มีถิ่นกำเนิดอยู่ในภูมิอากาศเขตร้อน และพบได้มากที่สุดในบริเวณใกล้เส้นศูนย์สูตร พืชเมล็ดเปลือยอีกพวกที่ยังคงเหลืออยู่ได้แก่กลุ่มมะเมื่อยและแปะก๊วย ที่รวมกันได้ประมาณ 95–100 สปีชีส์[6]

Spermatophyta

 Pteridospermatophyta  




 Acrogymnospermae 



 Angiospermae




Gymnospermae

คุณค่า

พืชเมล็ดเปลือยมีคุณค่าทางเศรษฐกิจ เกี๊ยะ เฟอร์ สปรูซ และซีดาร์เป็นตัวอย่างพืชกลุ่มสนที่นำมาทำเป็นไม้แปรรูป ผลิตกระดาษ และเรซิน ประโยชน์อื่น ๆ ของพืชเมล็ดเปลือย ได้แก่ สบู่ สารเคลือบเงา ยาทาเล็บ น้ำหอม และอาหาร

อ้างอิง

  1. "Definition of gymnosperm". Merriam-Webster. สืบค้นเมื่อ February 18, 2021.
  2. Grant, Bonnie (July 21, 2017). "Do Gymnosperms Produce Flowers & Fruit?". Sciencing. สืบค้นเมื่อ February 18, 2021.
  3. 3.0 3.1 3.2 "Gymnosperms on The Plant List". Theplantlist.org. สืบค้นเมื่อ 2013-07-24.
  4. Bailey, Regina (May 2, 2018). "What Are Gymnosperms?". ThoughtCo. สืบค้นเมื่อ February 18, 2021.
  5. Delevoryas, Theodore. "Gymnosperm plants". Britannica. สืบค้นเมื่อ February 18, 2021.
  6. 6.0 6.1 Raven, P.H. (2013). Biology of Plants. New York: W.H. Freeman and Co.
  7. Cantino 2007.
  8. 8.0 8.1 Christenhusz, M.J.M.; Reveal, J.L.; Farjon, A.; Gardner, M.F.; Mill, R.R.; Chase, M.W. (2011). "A new classification and linear sequence of extant gymnosperms" (PDF). Phytotaxa. 19: 55–70. doi:10.11646/phytotaxa.19.1.3.
  9. Hilton, Jason, and Richard M. Bateman. 2006. Pteridosperms are the backbone of seed-plant phylogeny. Journal of the Torrey Botanical Society 133: 119–168 (abstract)
  10. Christenhusz, M. J. M.; Byng, J. W. (2016). "The number of known plants species in the world and its annual increase". Phytotaxa. 261 (3): 201–217. doi:10.11646/phytotaxa.261.3.1.
  11. Sahney, S.; Benton, M.J. & Falcon-Lang, H.J. (2010). "Rainforest collapse triggered Pennsylvanian tetrapod diversification in Euramerica". Geology. 38 (12): 1079–1082. Bibcode:2010Geo....38.1079S. doi:10.1130/G31182.1.
  12. Campbell and Reece; Biology, Eighth edition
  13. Jiao Y, Wickett NJ, Ayyampalayam S, Chanderbali AS, Landherr L, Ralph PE, Tomsho LP, Hu Y, Liang H, Soltis PS, Soltis DE, Clifton SW, Schlarbaum SE, Schuster SC, Ma H, Leebens-Mack J, Depamphilis CW (2011) Ancestral polyploidy in seed plants and angiosperms. Nature
  14. Ollerton, J.; Coulthard, E. (2009). "Evolution of Animal Pollination". Science. 326 (5954): 808–809. Bibcode:2009Sci...326..808O. doi:10.1126/science.1181154. PMID 19892970. S2CID 856038.
  15. Ren, D; Labandeira, CC; Santiago-Blay, JA; Rasnitsyn, A; และคณะ (2009). "A Probable Pollination Mode Before Angiosperms: Eurasian, Long-Proboscid Scorpionflies". Science. 326 (5954): 840–847. Bibcode:2009Sci...326..840R. doi:10.1126/science.1178338. PMC 2944650. PMID 19892981.
  16. Labandeira, Conrad C.; Yang, Qiang; Santiago-Blay, Jorge A.; Hotton, Carol L.; Monteiro, Antónia; Wang, Yong-Jie; Goreva, Yulia; Shih, ChungKun; Siljeström, Sandra; Rose, Tim R.; Dilcher, David L.; Ren, Dong (2016). "The evolutionary convergence of mid-Mesozoic lacewings and Cenozoic butterflies". Proceedings of the Royal Society B: Biological Sciences. 283 (1824): 20152893. doi:10.1098/rspb.2015.2893. PMC 4760178. PMID 26842570.
  17. Catalogue of Life: 2007 Annual checklist – Conifer database เก็บถาวร มกราคม 15, 2009 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
  18. Campbell, Reece, "Phylum Coniferophyta."Biology. 7th. 2005. Print. P.595