ยุคไซลูเรียน
หน้าตา
ยุคไซลูเรียน | |||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
443.8 ± 1.5 – 419.2 ± 3.2 ล้านปีก่อน | |||||||||||||
ธรณีแปรสัณฐานในระหว่างช่วงตอนต้นของยุคไซลูเรียน | |||||||||||||
วิทยาการลำดับเวลา | |||||||||||||
| |||||||||||||
นิรุกติศาสตร์ | |||||||||||||
ความเป็นทางการของชื่อ | ทางการ | ||||||||||||
ชื่อพ้อง | ก็อทแลนเดียน (Gotlandian) | ||||||||||||
ข้อมูลการใช้ | |||||||||||||
เทห์วัตถุ | โลก | ||||||||||||
การใช้ระดับภาค | ทั่วโลก (ICS) | ||||||||||||
การใช้ช่วงเวลา | ธรณีกาลของ ICS | ||||||||||||
การนิยาม | |||||||||||||
หน่วยวิทยาการลำดับเวลา | ยุค | ||||||||||||
หน่วยลำดับชั้นหิน | หินยุค | ||||||||||||
เสนอครั้งแรกโดย | Roderick Murchison, 1835 | ||||||||||||
ความเป็นทางการของช่วงกาล | ทางการ | ||||||||||||
คำนิยามขอบล่าง | การปรากฏระดับอ้างอิงครั้งแรกของแกรฟโตไลต์ Akidograptus ascensus | ||||||||||||
ขอบล่าง GSSP | ด็อบส์ลินน์ โมเฟด สหราชอาณาจักร 55°26′24″N 3°16′12″W / 55.4400°N 3.2700°W | ||||||||||||
การอนุมัติ GSSP | 1984[4][5] | ||||||||||||
คำนิยามขอบบน | การปรากฏระดับอ้างอิงครั้งแรกของแกรฟโตไลต์ Monograptus uniformis | ||||||||||||
ขอบบน GSSP | กล็อนก์ ปราก เช็กเกีย 49°51′18″N 13°47′31″E / 49.8550°N 13.7920°E | ||||||||||||
การอนุมัติ GSSP | 1972[6] | ||||||||||||
ข้อมูลชั้นบรรยากาศและภูมิอากาศ | |||||||||||||
ปริมาณ O 2 เฉลี่ยในชั้นบรรยากาศ | ประมาณ 14 % โดยปริมาตร (70 % ของปัจจุบัน) | ||||||||||||
ปริมาณ CO 2 เฉลี่ยในชั้นบรรยากาศ | ประมาณ 4500 ppm (16 เท่าของยุคก่อนอุตสาหกรรม) | ||||||||||||
อุณหภูมิพื้นผิวเฉลี่ย | ประมาณ 17 °C (สูงกว่าปัจจุบัน 3 °C) | ||||||||||||
ระดับน้ำทะเลสูงกว่าปัจจุบัน | ประมาณ 180 เมตร และมีการลดลงเป็นระยะสั้น[7] |
ยุคไซลูเรียน (อังกฤษ: Silurian) เป็นยุคที่สามของมหายุคพาลีโอโซอิกในธรณีกาล ยุคนี้เริ่มขึ้นหลังจากจุดสิ้นสุดของยุคออร์โดวิเชียน ประมาณ 443.8 ± 1.5 ล้านปีก่อน และสิ้นสุดในช่วงก่อนเริ่มยุคดีโวเนียน ประมาณ 419.2 ± 0.2 ล้านปีก่อน[8] นักธรณีวิทยาได้ใช้การสูญพันธุ์ครั้งใหญ่ในยุคออร์โดวิเชียน-ไซลูเรียน เป็นตัวแบ่งยุคไซลูเรียนกับออร์โดวิเชียน ซึ่งจากการสูญพันธุ์นั้น ทำให้สิ่งมีชีวิตใต้ทะเลกว่า 60 % หายไป
ในยุคนี้พืชน้ำและสาหร่าย ได้ปรับตัวเพื่อไม่ให้เกิดการสูญพันธุ์ โดยวิวัฒนาการมาเป็นพืชบก แต่พืชบกนี้พบได้แค่ตามชายทะเลเท่านั้น ในปลายยุคไซลูเรียนมีสัตว์บกเป็นครั้งแรก ซึ่งเป็นสัตว์ขาปล้องขนาดเล็ก แต่มันก็ยังมีจำนวนไม่มากและยังไม่ได้ขึ้นมาอาศัยบนบกทั้งหมด จนกระทั่งถึงยุคดีโวเนียน
อ้างอิง
[แก้]- ↑ Jeppsson, L.; Calner, M. (2007). "The Silurian Mulde Event and a scenario for secundo—secundo events". Earth and Environmental Science Transactions of the Royal Society of Edinburgh. 93 (02): 135–154. doi:10.1017/S0263593300000377.
- ↑ Munnecke, A.; Samtleben, C.; Bickert, T. (2003). "The Ireviken Event in the lower Silurian of Gotland, Sweden-relation to similar Palaeozoic and Proterozoic events". Palaeogeography, Palaeoclimatology, Palaeoecology. 195 (1): 99–124. doi:10.1016/S0031-0182(03)00304-3.
- ↑ "Chart/Time Scale". www.stratigraphy.org. International Commission on Stratigraphy.
- ↑ Lucas, Sepncer (6 November 2018). "The GSSP Method of Chronostratigraphy: A Critical Review". Frontiers in Earth Science. 6: 191. Bibcode:2018FrEaS...6..191L. doi:10.3389/feart.2018.00191.
- ↑ Holland, C. (June 1985). "Series and Stages of the Silurian System" (PDF). Episodes. 8 (2): 101–103. doi:10.18814/epiiugs/1985/v8i2/005. สืบค้นเมื่อ 11 December 2020.
- ↑ Chlupáč, Ivo; Hladil, Jindrich (January 2000). "The global stratotype section and point of the Silurian-Devonian boundary". CFS Courier Forschungsinstitut Senckenberg. สืบค้นเมื่อ 7 December 2020.
- ↑ Haq, B. U.; Schutter, SR (2008). "A Chronology of Paleozoic Sea-Level Changes". Science. 322 (5898): 64–68. Bibcode:2008Sci...322...64H. doi:10.1126/science.1161648. PMID 18832639. S2CID 206514545.
- ↑ "International Chronostratigraphic Chart v.2015/01" (PDF). International Commission on Stratigraphy. January 2015.
ก่อนหน้า บรมยุคโพรเทอโรโซอิก |
บรมยุคฟาเนอโรโซอิก 541 Ma - ปัจจุบัน | |||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
มหายุคพาลีโอโซอิก 541 Ma - 252 Ma |
มหายุคมีโซโซอิก 252 Ma - 66 Ma |
มหายุคซีโนโซอิก 66 Ma - ปัจจุบัน | ||||||||||
แคมเบรียน | ออร์โดวิเชียน | ไซลูเรียน | ดีโวเนียน | คาร์บอนิเฟอรัส | เพอร์เมียน | ไทรแอสซิก | จูแรสซิก | ครีเทเชียส | พาลีโอจีน | นีโอจีน | ควอเทอร์นารี |