ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อาร์เคีย"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Waniosa Amedestir (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 7824554 สร้างโดย 101.51.189.13 (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
Kradangna2001 (คุย | ส่วนร่วม)
เติม intro และลบข้อมูลเก่า เป็นการแปลงานจากวิกิภาษาอังกฤษ
บรรทัด 17: บรรทัด 17:
[[นาโนอาร์เคออตา]]<br />
[[นาโนอาร์เคออตา]]<br />
}}
}}
อาร์เคียเป็นหนึ่งในสามโดเมนของสิ่งมีชีวิตบนโลกที่ประกอบไปด้วยโพรแคริโอต ตอนแรกอาร์เคียได้ถูกจัดรวมเป็นหนึ่งของโดเมนแบคทีเรีย ต่อมาถูกแยกเป็นโดเมนของมันเองเนื่องจากมีคุณสมบัติที่แตกต่างออกจากแบคทีเรียกับยูแคริโอต สายพันธุ์อาร์เคียประกอบด้วยหลายไฟลัมซึ่งยากจะศึกษาและจัดเป็นหมวดหมู่ เพราะว่าสายพันธุ์เหล่านี้ไม่สามารถเพาะเชื้อในห้องแล็ปได้ง่าย ที่ผ่านมาการทดสอบและวิเคราะห์ตัวอย่างกรดนิวคลีอิกในสิ่งแวดล้อมเป็นวิธีหลักของการที่จะตรวจพบหรือศึกษาอาร์เคีย
'''อาร์เคีย''' เป็นสิ่งมีชีวิตที่มีลักษณะคล้าย[[แบคทีเรีย]] แต่เชื่อว่ามีวิวัฒนาการแยกมา เพราะมี[[เยื่อหุ้มเซลล์]]ที่แปลกออกไป เป็น[[โปรคาริโอต]]ที่อยู่ในสภาพแวดล้อมที่เลวร้ายและใน[[มหาสมุทร]] [[ผนังเซลล์]]ไม่มี[[เปบทิโดไกลแคน]] [[กรดไขมัน]]ในเยื่อหุ้มแตกกิ่ง ไม่ไวต่อ[[ยาปฏิชีวนะ]] ยีนไม่มี[[อินทรอน]] [[RNA polymerase]] มีหลายชนิด บางส่วนเหมือน[[ยูคาริโอต]] rRNA บางส่วนคล้ายกับของยูคาริโอตด้วยเช่นกัน กลุ่มของอาร์เคียที่สำคัญได้แก่
* อาร์เคียที่อยู่ในสภาพเค็มจัด (extreme halophiles) เป็นอาร์เคียที่ชอบเจริญในบริเวณที่มี[[เกลือ]]มาก เช่นใน[[นาเกลือ]] ตัวอย่างเช่น ''Halobacterium halobium'' เป็นอาร์เคียที่สังเคราะห์แสงได้โดยใช้[[รงควัตถุ]]สีม่วงที่เรียก [[แบคเทอริโอโรโดปซิน]] (bacteriorhodopsin)
* อาร์เคียที่ชอบอากาศร้อนจัด (exthreme thermophilies) พบในน้ำที่มีอุณหภูมิสูงกว่า 100<sup>o</sup>C หรือในแหล่งน้ำที่เป็นกรด ทำให้แหล่งน้ำที่เป็นกรดมีสีเขียว ตัวอย่างเช่น ''Sulfolobus'' ซึ่งได้พลังงานจากการออกซิไดส์เหล็กและ[[กำมะถัน]]
* [[เมทาโนเจน]] (methanogen) เป็นกลุ่มสร้าง[[ก๊าซมีเทน]] อยู่ในสภาพไร้ออกซิเจน เช่นในน้ำลึก ในโคลนและในดินก้นบ่อ และอยู่ในทางเดินอาหารของสัตว์รวมทั้งมนุษย์ เป็นกลุ่มที่ไวต่อออกซิเจนที่สุด หากได้รับออกซิเจนจะตาย


ถึงแม้ขนาดและรูปทรงของอาร์เคียจะคล้ายคุณลักษณะของแบคทีเรียพวกเค้ายังคงมียีนกับเส้นทางการเผาผลาญพลังงานที่คล้ายกับยูแคริโอต ยกตัวอย่างเช่นเอนไซม์ที่กระตุ้นกระบวนการถอดและแปลรหัสพันธุกรรม นอกจากนี้อาร์เคียยังมีเอกลักษณ์ชีวเคมีพิเศษอย่างเช่น การใช้ไขมันอีเทอร์ในเยื่อหุ้มเซลล์และความสามารถที่จะประยุกต์ใช้แหล่งพลังงานมากกว่ายูคาริโอต อาร์เคียบางประเภทใช้สารประกอบอินทรีย์เช่นน้ำตาล สารประกอบอนินทรีย์เช่นแอมโมเนีย สารประกอบและไอออนเช่นก๊าซไฮโดรเจนและไอออนโลหะ หรือพลังงานแสงอาทิตย์ สายพันธุ์ต่างๆ ของอาร์เคียจะสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศผ่านกระบวนการแตกหน่อ การแบ่งตัวออกเป็นสอง และการขาดออกเป็นท่อน พวกอาร์เคียไม่สามารถสร้างสปอร์เหมื่อนแบคทีเรีย
[[ไฟล์:Chart Tree of life colored.png|thumb|left|250px|[[แผนภูมิต้นไม้]]แบบวงกลม แสดง[[วงศ์วานวิวัฒนาการ]] ของ[[สิ่งมีชีวิตระบบเซลล์]] โดยแบ่งตาม[[อาณาจักร (ชีววิทยา)|อาณาจักร]]และโดเมน สีม่วงคือ[[แบคทีเรีย]] สีเทาเข้มคือ'''อาร์เคีย''' สีน้ำตาลคือ[[ยูแคริโอต]] โดยยูแคริโอตยังแบ่งออกเป็น 5 อาณาจักรคือ [[สัตว์]] (แดง) [[ฟังไจ]] (น้ำเงิน) [[พืช]] (เขียว) [[โครมาลวีโอลาตา]] (น้ำทะเล) และ [[โพรทิสตา]] (เหลืองทอง) โดยมีจุดศูนย์กลางคือ [[บรรพบุรุษร่วมที่ใกล้กันที่สุดของสิ่งมีชีวิตบนโลก]] (LUCA) ]]

ประเภทอาร์เคียแรกๆ ที่ถูกค้นพบเป็นจำพวกอิกซ์ตรีโมไฟล์ที่สามารถดำรงชีวิตในสิ่งแวดล้อมที่สิ่งมีชีวิตชนิดอื่นๆ อยู่อาศัยลำบากเนื่องจากสภาพแวดล้อมที่ แห้งจัด ร้อนจัด เย็นจัด เข็มจัด หรือแรงกดดันอากาศสูงจัดในเบื้องต้น การพัฒนาด้านเทคโนโลยีนำมาสู่การค้นพบอาร์เคียสายพันธุ์ใหม่ในสิ่งแวดล้อมประเภทอื่นๆ นักวิทยาศาสตร์จึงทราบว่าสายพันธุ์ต่างๆ ของอาร์เคียสามารถอยู่อาศัยในเกือบทุกแห่งบนโลกโดยเฉพาะในแพลงก์ตอนที่อาศัยอยู่ในมหาสมุทร นอกจากนี้แล้วอาร์เคียยังคงอยู่อาศัยในระบบทางเดินอาหารและบนผิวหนังของสิ่งมีชีวิตนานาชนิดรวมถึงมนุษย์โดยเป็นหนึ่งของไมโครไบโอต้า อาร์เคียมีหลายบทบาทในธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมซึ่งรวมถึง การตรึงคาร์บอนไดออกไซด์ การสนับสนุนวัฏจักรไนโตรเจน การหมุนเวียนของสารประกอบอินทรีย์ และการควบคุมของความสัมพันธ์ที่เอื้อประโยชน์ของชุมชนแบคทีเรียประเภทต่างๆ
ขณะนี้นักวิทยาศาสตร์ยังไม่ได้ค้นพบสายพันธุ์อาร์เคียที่มีพฤติกรรมเหมื่อนเชื้อโรคหรือปรสิต ส่วนใหญ่แล้วจะเป็นสายพันธุ์อาร์เคียเช่นเหล่าเมทาโนเจน หรืออาร์เคียที่สามารถผลิตก๊าซมีเทนนั่นเอง ซึ่งสายพันธุ์จะมีภาวะพึ่งพาหรืออิงอาศัยสิ่งมีชีวิตประเภทอื่นๆ[[ไฟล์:Chart Tree of life colored.png|thumb|left|250px|[[แผนภูมิต้นไม้]]แบบวงกลม แสดง[[วงศ์วานวิวัฒนาการ]] ของ[[สิ่งมีชีวิตระบบเซลล์]] โดยแบ่งตาม[[อาณาจักร (ชีววิทยา)|อาณาจักร]]และโดเมน สีม่วงคือ[[แบคทีเรีย]] สีเทาเข้มคือ'''อาร์เคีย''' สีน้ำตาลคือ[[ยูแคริโอต]] โดยยูแคริโอตยังแบ่งออกเป็น 5 อาณาจักรคือ [[สัตว์]] (แดง) [[ฟังไจ]] (น้ำเงิน) [[พืช]] (เขียว) [[โครมาลวีโอลาตา]] (น้ำทะเล) และ [[โพรทิสตา]] (เหลืองทอง) โดยมีจุดศูนย์กลางคือ [[บรรพบุรุษร่วมที่ใกล้กันที่สุดของสิ่งมีชีวิตบนโลก]] (LUCA) ]]


== แหล่งข้อมูลอื่น ==
== แหล่งข้อมูลอื่น ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 10:48, 11 เมษายน 2563

อาร์เคีย
ช่วงเวลาที่มีชีวิตอยู่:
มหายุคพาลีโออาร์เคียน – ปัจจุบัน
ฮาโลแบคทีเรีย NRC-1 ทุกเซลล์มีความยาว 5 ไมโครเมตร
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์
Superdomain: นีโอมูรา
โดเมน: อาร์เคีย
โวเซ, คานดเลอร์ และ วีลลิส, พ.ศ. 2533
อาณาจักร: Archaebacteria
ไฟลัม / ชั้น

ครีนาเคออตา
ยูร์ยาร์เคออตา
โคราเคออตา
นาโนอาร์เคออตา

อาร์เคียเป็นหนึ่งในสามโดเมนของสิ่งมีชีวิตบนโลกที่ประกอบไปด้วยโพรแคริโอต ตอนแรกอาร์เคียได้ถูกจัดรวมเป็นหนึ่งของโดเมนแบคทีเรีย ต่อมาถูกแยกเป็นโดเมนของมันเองเนื่องจากมีคุณสมบัติที่แตกต่างออกจากแบคทีเรียกับยูแคริโอต สายพันธุ์อาร์เคียประกอบด้วยหลายไฟลัมซึ่งยากจะศึกษาและจัดเป็นหมวดหมู่ เพราะว่าสายพันธุ์เหล่านี้ไม่สามารถเพาะเชื้อในห้องแล็ปได้ง่าย ที่ผ่านมาการทดสอบและวิเคราะห์ตัวอย่างกรดนิวคลีอิกในสิ่งแวดล้อมเป็นวิธีหลักของการที่จะตรวจพบหรือศึกษาอาร์เคีย

ถึงแม้ขนาดและรูปทรงของอาร์เคียจะคล้ายคุณลักษณะของแบคทีเรียพวกเค้ายังคงมียีนกับเส้นทางการเผาผลาญพลังงานที่คล้ายกับยูแคริโอต ยกตัวอย่างเช่นเอนไซม์ที่กระตุ้นกระบวนการถอดและแปลรหัสพันธุกรรม นอกจากนี้อาร์เคียยังมีเอกลักษณ์ชีวเคมีพิเศษอย่างเช่น การใช้ไขมันอีเทอร์ในเยื่อหุ้มเซลล์และความสามารถที่จะประยุกต์ใช้แหล่งพลังงานมากกว่ายูคาริโอต อาร์เคียบางประเภทใช้สารประกอบอินทรีย์เช่นน้ำตาล สารประกอบอนินทรีย์เช่นแอมโมเนีย สารประกอบและไอออนเช่นก๊าซไฮโดรเจนและไอออนโลหะ หรือพลังงานแสงอาทิตย์ สายพันธุ์ต่างๆ ของอาร์เคียจะสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศผ่านกระบวนการแตกหน่อ การแบ่งตัวออกเป็นสอง และการขาดออกเป็นท่อน พวกอาร์เคียไม่สามารถสร้างสปอร์เหมื่อนแบคทีเรีย

ประเภทอาร์เคียแรกๆ ที่ถูกค้นพบเป็นจำพวกอิกซ์ตรีโมไฟล์ที่สามารถดำรงชีวิตในสิ่งแวดล้อมที่สิ่งมีชีวิตชนิดอื่นๆ อยู่อาศัยลำบากเนื่องจากสภาพแวดล้อมที่ แห้งจัด ร้อนจัด เย็นจัด เข็มจัด หรือแรงกดดันอากาศสูงจัดในเบื้องต้น การพัฒนาด้านเทคโนโลยีนำมาสู่การค้นพบอาร์เคียสายพันธุ์ใหม่ในสิ่งแวดล้อมประเภทอื่นๆ นักวิทยาศาสตร์จึงทราบว่าสายพันธุ์ต่างๆ ของอาร์เคียสามารถอยู่อาศัยในเกือบทุกแห่งบนโลกโดยเฉพาะในแพลงก์ตอนที่อาศัยอยู่ในมหาสมุทร นอกจากนี้แล้วอาร์เคียยังคงอยู่อาศัยในระบบทางเดินอาหารและบนผิวหนังของสิ่งมีชีวิตนานาชนิดรวมถึงมนุษย์โดยเป็นหนึ่งของไมโครไบโอต้า อาร์เคียมีหลายบทบาทในธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมซึ่งรวมถึง การตรึงคาร์บอนไดออกไซด์ การสนับสนุนวัฏจักรไนโตรเจน การหมุนเวียนของสารประกอบอินทรีย์ และการควบคุมของความสัมพันธ์ที่เอื้อประโยชน์ของชุมชนแบคทีเรียประเภทต่างๆ

ขณะนี้นักวิทยาศาสตร์ยังไม่ได้ค้นพบสายพันธุ์อาร์เคียที่มีพฤติกรรมเหมื่อนเชื้อโรคหรือปรสิต ส่วนใหญ่แล้วจะเป็นสายพันธุ์อาร์เคียเช่นเหล่าเมทาโนเจน หรืออาร์เคียที่สามารถผลิตก๊าซมีเทนนั่นเอง ซึ่งสายพันธุ์จะมีภาวะพึ่งพาหรืออิงอาศัยสิ่งมีชีวิตประเภทอื่นๆ

แผนภูมิต้นไม้แบบวงกลม แสดงวงศ์วานวิวัฒนาการ ของสิ่งมีชีวิตระบบเซลล์ โดยแบ่งตามอาณาจักรและโดเมน สีม่วงคือแบคทีเรีย สีเทาเข้มคืออาร์เคีย สีน้ำตาลคือยูแคริโอต โดยยูแคริโอตยังแบ่งออกเป็น 5 อาณาจักรคือ สัตว์ (แดง) ฟังไจ (น้ำเงิน) พืช (เขียว) โครมาลวีโอลาตา (น้ำทะเล) และ โพรทิสตา (เหลืองทอง) โดยมีจุดศูนย์กลางคือ บรรพบุรุษร่วมที่ใกล้กันที่สุดของสิ่งมีชีวิตบนโลก (LUCA)

แหล่งข้อมูลอื่น