ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สัตว์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Boom1221 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Boom1221 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 94: บรรทัด 94:


มนุษย์นำสัตว์มาใช้ประโยชน์ในหลากหลายด้าน เช่น นำมาบริโภคเป็นอาหาร (รวมทั้ง[[เนื้อสัตว์]] [[นม]] และ[[ไข่ (อาหาร)|ไข่]]) นำมาใช้เป็นวัสดุ (เช่น [[หนังสัตว์]] [[ขนสัตว์]] เป็นต้น) และนำมาเป็น[[สัตว์เลี้ยง]]สำหรับขนส่งหรือ[[แรงงานสัตว์|ใช้แรงงาน]] เป็นต้น มนุษย์นำสุนัขมา[[สุนัขล่าสัตว์|ใช้ในการล่าสัตว์]]ขณะที่มีสัตว์บกและสัตว์น้ำจำนวนมากถูกล่าเป็นกีฬา สัตว์ที่ไม่ใช่มนุษย์ปรากฏในงานศิลปะตั้งแต่ยุคเริ่มแรกของมนุษย์ และยังปรากฏในปรัมปราวิทยาและศาสนาด้วย
มนุษย์นำสัตว์มาใช้ประโยชน์ในหลากหลายด้าน เช่น นำมาบริโภคเป็นอาหาร (รวมทั้ง[[เนื้อสัตว์]] [[นม]] และ[[ไข่ (อาหาร)|ไข่]]) นำมาใช้เป็นวัสดุ (เช่น [[หนังสัตว์]] [[ขนสัตว์]] เป็นต้น) และนำมาเป็น[[สัตว์เลี้ยง]]สำหรับขนส่งหรือ[[แรงงานสัตว์|ใช้แรงงาน]] เป็นต้น มนุษย์นำสุนัขมา[[สุนัขล่าสัตว์|ใช้ในการล่าสัตว์]]ขณะที่มีสัตว์บกและสัตว์น้ำจำนวนมากถูกล่าเป็นกีฬา สัตว์ที่ไม่ใช่มนุษย์ปรากฏในงานศิลปะตั้งแต่ยุคเริ่มแรกของมนุษย์ และยังปรากฏในปรัมปราวิทยาและศาสนาด้วย

== รากศัพท์ ==
คำว่า "สัตว์" มีรากศัพท์มาจากภาษาสันสกฤตว่า ''सत्त्व'' (สตฺตฺว) แปลว่า''ความเป็น''<ref>{{cite web|url=http://www.royin.go.th/?knowledges=สัตว์-๑๖-พฤษภาคม-๒๕๕๓|title=สัตว์ (๑๖ พฤษภาคม ๒๕๕๓)|website=สำนักงานราชบัณฑิตยสภา|accessdate=3 มกราคม 2563}}</ref>

คำว่า "animal" ในภาษาอังกฤษมีรากศัพท์มาจากภาษาละตินว่า ''animalis'' แปลว่า''มีลมหายใจ'' ''มีวิญญาณ'' หรือ''สิ่งมีชีวิต''<ref>{{cite book |last=Cresswell |first=Julia |title=The Oxford Dictionary of Word Origins |year=2010 |publisher=Oxford University Press |location=New York |edition=2nd |isbn=978-0-19-954793-7 |quote='having the breath of life', from anima 'air, breath, life'.}}</ref> ส่วนนิยามในทางชีววิทยานั้นหมายถึงทุกสมาชิกในอาณาจักร Animalia<ref name=americanheritage_animal>{{cite encyclopedia |year=2006 |title=Animal |encyclopedia=The American Heritage Dictionary |publisher=Houghton Mifflin Company |edition=4th}}</ref> แต่เมื่อใช้โดยทั่วไป คำว่า "สัตว์" บางครั้งหมายถึงแค่สัตว์อื่นที่ไม่ใช่มนุษย์ อันเป็นผลมาจาก[[แนวคิดมนุษย์เป็นศูนย์กลาง]]<ref>{{cite web |website=English Oxford Living Dictionaries |title=animal |url=https://en.oxforddictionaries.com/definition/animal |access-date=26 July 2018 |archive-url=https://web.archive.org/web/20180726233938/https://en.oxforddictionaries.com/definition/animal |archive-date=26 July 2018 |url-status=live}}</ref><ref>{{cite journal |last=Boly |first=Melanie |last2=Seth |first2=Anil K. |last3=Wilke |first3=Melanie |last4=Ingmundson |first4=Paul |last5=Baars |first5=Bernard |last6=Laureys |first6=Steven |last7=Edelman |first7=David |last8=Tsuchiya |first8=Naotsugu |date=2013 |title=Consciousness in humans and non-human animals: recent advances and future directions |journal=Frontiers in Psychology |volume=4 |pages=625 |doi=10.3389/fpsyg.2013.00625 |pmc=3814086 |pmid=24198791}}</ref><ref>{{Cite web |website=Royal Society |url=https://royalsociety.org/topics-policy/publications/2004/non-human-animals/ |title=The use of non-human animals in research |access-date=7 June 2018 |archive-url=https://web.archive.org/web/20180612140908/https://royalsociety.org/topics-policy/publications/2004/non-human-animals/ |archive-date=12 June 2018 |url-status=live }}</ref><ref>{{Cite web |url=https://www.collinsdictionary.com/dictionary/english/nonhuman |title=Nonhuman definition and meaning {{!}} |website=Collins English Dictionary |access-date=7 June 2018 |archive-url=https://web.archive.org/web/20180612142932/https://www.collinsdictionary.com/dictionary/english/nonhuman |archive-date=12 June 2018 |url-status=live }}</ref>

== ลักษณะ ==



== สายวิวัฒนาการ ==
== สายวิวัฒนาการ ==
บรรทัด 132: บรรทัด 140:
* [[รายชื่อสัตว์]]
* [[รายชื่อสัตว์]]
* [https://www.youtube.com/watch?v=WviLwkwd2nk 11 อันดับสัตว์โลกที่เคยถูกใช้ในกองทัพทหาร]
* [https://www.youtube.com/watch?v=WviLwkwd2nk 11 อันดับสัตว์โลกที่เคยถูกใช้ในกองทัพทหาร]

== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}


== แหล่งข้อมูลอื่น ==
== แหล่งข้อมูลอื่น ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 21:22, 3 มกราคม 2563

สัตว์
ช่วงเวลาที่มีชีวิตอยู่: กลางยุคไครโอเจเนียนปัจจุบัน, 670–0Ma
อิคีเนอเดอร์เมอเทอไนดาเรียชั้นไบวาลเวียหมีน้ำสัตว์พวกกุ้งกั้งปูแมงฟองน้ำแมลงสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมไบรโอซัวอะแคนโธเซฟาลาหนอนตัวแบนชั้นเซฟาโลพอดสัตว์พวกหนอนปล้องยูโรคอร์ดาตาปลานกโฟโรนิดา
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์
โดเมน: ยูแคริโอต
(ไม่ได้จัดอันดับ): โอพิสโธคอนตา
(ไม่ได้จัดอันดับ): โฮโลซัว
(ไม่ได้จัดอันดับ): ไฟโลซัว
อาณาจักร: สัตว์
ลินเนียส, ค.ศ. 1758
ไฟลัม

สัตว์ (อังกฤษ: Animal) เป็นสิ่งมีชีวิตยูแคริโอตหลายเซลล์ที่ประกอบกันขึ้นเป็นอาณาจักร Animalia สัตว์เกือบทั้งหมดบริโภคอินทรียวัตถุ หายใจด้วยออกซิเจน สามารถเคลื่อนที่ได้ สามารถสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศได้ และเติบโตจากเซลล์ทรงกลมกลวงในช่วงการเกิดเอ็มบริโอ มีสปีชีส์สัตว์ที่ยังมีชีวิตอยู่มากกว่า 1.5 ล้านสปีชีส์ที่ได้รับการบรรยายลักษณะแล้ว ประมาณ 1 ล้านในจำนวนนี้เป็นแมลง แต่ก็มีการประมาณจำนวนสปีชีส์ของสัตว์ทั้งหมดที่ 7 ล้านสปีชีส์ สัตว์มีขนาดได้ตั้งแต่ 8.5 ล้านส่วนของเมตรไปจนถึง 33.6 เมตร (110 ฟุต) สัตว์มีปฏิสัมพันธ์ที่ซับซ้อนต่อสัตว์อื่นและสภาพแวดล้อม สามารถทำให้เกิดเป็นสายใยอาหารที่สลับซับซ้อนได้ อาณาจักร Animalia รวมมนุษย์ไปด้วย แต่คำว่า "สัตว์" โดยทั่วไปนั้นมักหมายถึงสัตว์อื่นที่ไม่ใช่มนุษย์ การศึกษาสัตว์ที่ไม่ใช่มนุษย์นั้นเรียกว่าสัตววิทยา

สปีชีส์สัตว์ที่ยังมีชีวิตอยู่ส่วนมากอยู่ในกลุ่มไบลาทีเรีย ซึ่งเป็นเคลดที่แผนกายของสมาชิกมีสมมาตรด้านข้าง ไบลาทีเรียประกอบด้วยสัตว์จำพวกโพรโทสโทเมีย อันประกอบด้วยสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังหลายกลุ่ม เช่น นีมาโทดา สัตว์ขาปล้อง มอลลัสกา เป็นต้น และสัตว์จำพวกดิวเทอโรสโทเมีย อันประกอบไปด้วยอิคีเนอเดอร์เมอเทอและสัตว์มีแกนสันหลังที่รวมสัตว์มีกระดูกสันหลังด้วย สิ่งมีชีวิตที่จัดว่าเป็นสัตว์ยุคแรกนั้นปรากฏขึ้นครั้งแรกในกลุ่มสิ่งมีชีวิตยุคอีดีแครัน (Edicaran biota) แห่งพรีแคมเบรียนตอนปลาย ไฟลัมของสัตว์ยุคปัจจุบันจำนวนมากมีซากดึกดำบรรพ์ระบุว่าเคยเป็นสปีชีส์น้ำมาก่อนในช่วงการระเบิดยุคแคมเบรียน เริ่มต้นขึ้นเมื่อประมาณ 542 ล้านปีก่อน มีการพบกลุ่มยีนจำนวน 6,331 กลุ่มที่ปรากฏร่วมกันในสัตว์ที่ยังมีชีวิตอยู่ทั้งหมด ลักษณะดังกล่าวอาจเกิดขึ้นจากบรรพบุรุษร่วมกันของสัตว์ที่มีชีวิตอยู่เมื่อ 650 ล้านปีก่อน

ในอดีต อริสโตเติลจำแนกสัตว์ออกเป็นสองกลุ่ม คือ กลุ่มที่มีเลือดและไม่มีเลือด คาร์ล ลินเนียสสร้างการจำแนกสิ่งมีชีวิตอย่างเป็นลำดับเป็นครั้งแรกในปี พ.ศ. 2301 ด้วยผลงาน Systema Naturae ของเขา ซึ่งต่อมาฌ็อง-บาติส ลามาร์กขยายเพิ่มเป็น 14 ไฟลัมในปี พ.ศ. 2352 ในปี พ.ศ. 2417 แอ็นสท์ แฮเคิลแบ่งอาณาจักรสัตว์ออกเป็นเมทาซัวหลายเซลล์ (พ้องกับ Animalia) และโพรโทซัว อันเป็นสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวที่ไม่ได้รับการพิจารณาว่าเป็นสัตว์อีกต่อไป ในยุคปัจจุบัน การจำแนกประเภทของสัตว์ขึ้นอยู่กับวิธีการขั้นสูง เช่น วิวัฒนาการชาติพันธุ์เชิงโมเลกุล (Molecular phylogenetics) ซึ่งสามารถแสดงความสัมพันธ์เชิงวิวัฒนาการระหว่างสัตว์แต่ละชนิดได้อย่างดี

มนุษย์นำสัตว์มาใช้ประโยชน์ในหลากหลายด้าน เช่น นำมาบริโภคเป็นอาหาร (รวมทั้งเนื้อสัตว์ นม และไข่) นำมาใช้เป็นวัสดุ (เช่น หนังสัตว์ ขนสัตว์ เป็นต้น) และนำมาเป็นสัตว์เลี้ยงสำหรับขนส่งหรือใช้แรงงาน เป็นต้น มนุษย์นำสุนัขมาใช้ในการล่าสัตว์ขณะที่มีสัตว์บกและสัตว์น้ำจำนวนมากถูกล่าเป็นกีฬา สัตว์ที่ไม่ใช่มนุษย์ปรากฏในงานศิลปะตั้งแต่ยุคเริ่มแรกของมนุษย์ และยังปรากฏในปรัมปราวิทยาและศาสนาด้วย

รากศัพท์

คำว่า "สัตว์" มีรากศัพท์มาจากภาษาสันสกฤตว่า सत्त्व (สตฺตฺว) แปลว่าความเป็น[1]

คำว่า "animal" ในภาษาอังกฤษมีรากศัพท์มาจากภาษาละตินว่า animalis แปลว่ามีลมหายใจ มีวิญญาณ หรือสิ่งมีชีวิต[2] ส่วนนิยามในทางชีววิทยานั้นหมายถึงทุกสมาชิกในอาณาจักร Animalia[3] แต่เมื่อใช้โดยทั่วไป คำว่า "สัตว์" บางครั้งหมายถึงแค่สัตว์อื่นที่ไม่ใช่มนุษย์ อันเป็นผลมาจากแนวคิดมนุษย์เป็นศูนย์กลาง[4][5][6][7]

ลักษณะ

สายวิวัฒนาการ


  
Apoikozoa


Choanoflagellata



สัตว์

Porifera


  

Placozoa



Cnidaria



Ctenophora



Bilateria

Xenacoelomorpha


Nephrozoa

Deuterostomes


Protostomes

Ecdysozoa



Spiralia










ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. "สัตว์ (๑๖ พฤษภาคม ๒๕๕๓)". สำนักงานราชบัณฑิตยสภา. สืบค้นเมื่อ 3 มกราคม 2563. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  2. Cresswell, Julia (2010). The Oxford Dictionary of Word Origins (2nd ed.). New York: Oxford University Press. ISBN 978-0-19-954793-7. 'having the breath of life', from anima 'air, breath, life'.
  3. "Animal". The American Heritage Dictionary (4th ed.). Houghton Mifflin Company. 2006.
  4. "animal". English Oxford Living Dictionaries. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 26 July 2018. สืบค้นเมื่อ 26 July 2018.
  5. Boly, Melanie; Seth, Anil K.; Wilke, Melanie; Ingmundson, Paul; Baars, Bernard; Laureys, Steven; Edelman, David; Tsuchiya, Naotsugu (2013). "Consciousness in humans and non-human animals: recent advances and future directions". Frontiers in Psychology. 4: 625. doi:10.3389/fpsyg.2013.00625. PMC 3814086. PMID 24198791.
  6. "The use of non-human animals in research". Royal Society. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 12 June 2018. สืบค้นเมื่อ 7 June 2018.
  7. "Nonhuman definition and meaning |". Collins English Dictionary. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 12 June 2018. สืบค้นเมื่อ 7 June 2018.

แหล่งข้อมูลอื่น