ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เพลงลูกกรุง"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 3: บรรทัด 3:


== ประวัติ ==
== ประวัติ ==
จากบางแหล่งข้อมูลเพลงลูกกรุงกำเนิดขึ้นเมื่อประมาณ [[พ.ศ. 2474]] ซึ่งเป็นช่วงที่ประเทศไทยกำลังจะเปลี่ยนแปลงระบอบการปกครองฯ ใน[[รัชกาลที่ 7]] บางแหล่งบอกปลาย [[รัชกาลที่ 6]] ประมาณ พ.ศ. 2455 โดยการจ้างครูจาก[[อิตาลี]]นำเครื่องสายสากลเข้ามาสอน แต่เพลงลูกกรุงเริ่มชัดเจนเมื่อประมาณ ปี [[พ.ศ. 2475]] โดยเริ่มมีแนวเพลง เนื้อร้อง ทำนอง และ[[เครื่องดนตรี]]ที่นำมาบรรเลงประกอบเป็นไทย นำทำนองเพลงของรัชกาลที่ 6 ที่นำมาเรียบเรียงเสียงประสานใช้เครื่องดนตรีสากลบรรเลงประกอบ เป็นเพลงในกิจการ[[ลูกเสือ]] ต่อมาได้มีการนำเพลง "ลาทีกล้วยไม้" ของ[[ขุนวิจิตรมาตรา]] มาทำในจังหวะ[[รุมบ้า]]เพลงแรกของไทย และบทเพลงของ[[จิตร ภูมิศักดิ์]] และอื่นๆ ซึ่งแต่ง และใช้เครื่องดนตรีสากลบรรเลงประกอบ เป็นเครื่องบ่งบอกการกำเนิดของเพลงลูกกรุง
จากบางแหล่งข้อมูลเพลงลูกกรุงกำเนิดขึ้นเมื่อประมาณ [[พ.ศ. 2474]] ซึ่งเป็นช่วงที่ประเทศไทยกำลังจะเปลี่ยนแปลงระบอบการปกครองฯ ใน[[รัชกาลที่ 7]] บางแหล่งบอกปลาย [[รัชกาลที่ 6]] ประมาณ พ.ศ. 2455 โดยการจ้างครูจาก[[อิตาลี]]นำเครื่องสายสากลเข้ามาสอน แต่เพลงลูกกรุงเริ่มชัดเจนเมื่อประมาณ ปี [[พ.ศ. 2475]] โดยเริ่มมีแนวเพลง เนื้อร้อง ทำนอง และ[[เครื่องดนตรี]]ที่นำมาบรรเลงประกอบเป็นไทย นำทำนองเพลงของรัชกาลที่ 6 ที่นำมาเรียบเรียงเสียงประสานใช้เครื่องดนตรีสากลบรรเลงประกอบ เป็นเพลงในกิจการ[[ลูกเสือ]] ต่อมาได้มีการนำเพลง ''"ลาทีกล้วยไม้"'' ของ[[ขุนวิจิตรมาตรา]] มาทำในจังหวะ''รุมบ้า''เพลงแรกของไทย และบทเพลงของ[[จิตร ภูมิศักดิ์]] และอื่นๆ ซึ่งแต่ง และใช้เครื่องดนตรีสากลบรรเลงประกอบ เป็นเครื่องบ่งบอกการกำเนิดของเพลงลูกกรุง


ปี [[พ.ศ. 2482]] วง[[สุนทราภรณ์]]ก่อตั้งเป็นวงดนตรีวงใหญ่ ซึ่งทำให้สังคมเมืองในยุคนั้น เริ่มตื่นตัวการฟังเพลง ผู้ฟังและค่ายเพลงต่างๆ เริ่มจัดประเภทเพลง สร้างนักร้องให้มีรูปแบบความเป็นคนเมืองหลวง นักดนตรี นักแต่งเพลง นักร้องต่างมีรูปแบบ หา[[แฟชั่น]]นำสังคม ทั้งเรื่องแฟชั่น การแต่งกาย มีคลับมีบาร์ แถว[[ถนนราชดำเนิน]] ตามย่านชุมชน [[โรงแรม]]ใหญ่ๆ มีห้องบอลรูม เพื่อให้มีการจัดแสดงดนตรีประกอบ และเริ่มมีการเปรียบเทียบระหว่าง[[เพลงลูกทุ่ง]]และเพลงลูกกรุง
ปี [[พ.ศ. 2482]] วง[[สุนทราภรณ์]]ก่อตั้งเป็นวงดนตรีวงใหญ่ ซึ่งทำให้สังคมเมืองในยุคนั้น เริ่มตื่นตัวการฟังเพลง ผู้ฟังและค่ายเพลงต่างๆ เริ่มจัดประเภทเพลง สร้างนักร้องให้มีรูปแบบความเป็นคนเมืองหลวง นักดนตรี นักแต่งเพลง นักร้องต่างมีรูปแบบ หา[[แฟชั่น]]นำสังคม ทั้งเรื่องแฟชั่น การแต่งกาย มี[[คลับ]]มี[[บาร์]] แถว[[ถนนราชดำเนิน]] ตามย่านชุมชน [[โรงแรม]]ใหญ่ๆ มีห้องบอลรูม เพื่อให้มีการจัดแสดงดนตรีประกอบ และเริ่มมีการเปรียบเทียบระหว่าง[[เพลงลูกทุ่ง]]และเพลงลูกกรุง


== ศิลปินเพลงแนวลูกกรุง ==
== ศิลปินเพลงแนวลูกกรุง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 17:37, 20 กันยายน 2562

เพลงลูกกรุง เป็นเพลงไทยสากลประเภทหนึ่ง โดยเป็นเพลงที่บอกเล่า ถ่ายทอด ความรู้สึกของสังคม และคนเมืองหลวง ตลอดจนเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น การถ่ายทอดอารมณ์ การขับร้อง น้ำเสียง ของกลุ่มนักร้อง นักแต่งเพลง และนักดนตรีจะมีรูปแบบ ประณีต ละเอียดอ่อน ออกมานุ่มนวล เนื้อร้องจะมีลักษณะเป็นร้อยแก้ว ร้อยกรอง มีความหมายสลับซับซ้อน ยอกย้อน

ประวัติ

จากบางแหล่งข้อมูลเพลงลูกกรุงกำเนิดขึ้นเมื่อประมาณ พ.ศ. 2474 ซึ่งเป็นช่วงที่ประเทศไทยกำลังจะเปลี่ยนแปลงระบอบการปกครองฯ ในรัชกาลที่ 7 บางแหล่งบอกปลาย รัชกาลที่ 6 ประมาณ พ.ศ. 2455 โดยการจ้างครูจากอิตาลีนำเครื่องสายสากลเข้ามาสอน แต่เพลงลูกกรุงเริ่มชัดเจนเมื่อประมาณ ปี พ.ศ. 2475 โดยเริ่มมีแนวเพลง เนื้อร้อง ทำนอง และเครื่องดนตรีที่นำมาบรรเลงประกอบเป็นไทย นำทำนองเพลงของรัชกาลที่ 6 ที่นำมาเรียบเรียงเสียงประสานใช้เครื่องดนตรีสากลบรรเลงประกอบ เป็นเพลงในกิจการลูกเสือ ต่อมาได้มีการนำเพลง "ลาทีกล้วยไม้" ของขุนวิจิตรมาตรา มาทำในจังหวะรุมบ้าเพลงแรกของไทย และบทเพลงของจิตร ภูมิศักดิ์ และอื่นๆ ซึ่งแต่ง และใช้เครื่องดนตรีสากลบรรเลงประกอบ เป็นเครื่องบ่งบอกการกำเนิดของเพลงลูกกรุง

ปี พ.ศ. 2482 วงสุนทราภรณ์ก่อตั้งเป็นวงดนตรีวงใหญ่ ซึ่งทำให้สังคมเมืองในยุคนั้น เริ่มตื่นตัวการฟังเพลง ผู้ฟังและค่ายเพลงต่างๆ เริ่มจัดประเภทเพลง สร้างนักร้องให้มีรูปแบบความเป็นคนเมืองหลวง นักดนตรี นักแต่งเพลง นักร้องต่างมีรูปแบบ หาแฟชั่นนำสังคม ทั้งเรื่องแฟชั่น การแต่งกาย มีคลับมีบาร์ แถวถนนราชดำเนิน ตามย่านชุมชน โรงแรมใหญ่ๆ มีห้องบอลรูม เพื่อให้มีการจัดแสดงดนตรีประกอบ และเริ่มมีการเปรียบเทียบระหว่างเพลงลูกทุ่งและเพลงลูกกรุง

ศิลปินเพลงแนวลูกกรุง

ดูเพิ่ม

อ้างอิง