ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2539"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
หัวใจไร้ข้อแม้ (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
หัวใจไร้ข้อแม้ (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 35: บรรทัด 35:


== ผู้สมัครรับเลือกตั้ง ==
== ผู้สมัครรับเลือกตั้ง ==
ในการเลือกตั้งครั้งนี้ มีผู้สมัครลงรับเลือกตั้งทั้งหมด 16 คน ทั้งที่สังกัด[[พรรคการเมือง]]และไม่สังกัดพรรคการเมือง โดยมีผู้สมัครที่น่าสนใจ อาทิ:<ref>http://digi.library.tu.ac.th/thesis/po/0640/09CHAPTER_3.pdf</ref>
ในการเลือกตั้งครั้งนี้ มีผู้สมัครลงรับเลือกตั้งทั้งหมด 29 คน ซึ่งนับว่ามากที่สุดนับตั้งแต่จัดการเลือกตั้ง มีผู้สมัคร ทั้งที่สังกัด[[พรรคการเมือง]]และไม่สังกัดพรรคการเมือง โดยมีผู้สมัครที่น่าสนใจ อาทิ:<ref>http://digi.library.tu.ac.th/thesis/po/0640/09CHAPTER_3.pdf</ref>


*[[อากร ฮุนตระกูล]] (ผู้สมัครอิสระ) – [[สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร]] (กันยายน 2535-2538) (หมายเลข 2)
* [[วรัญชัย โชคชนะ]] (กลุ่มพิทักษ์ผลประโยชน์ประชาชน) – นักกิจกรรมทางการเมือง (หมายเลข 1)
*[[วรัญชัย โชคชนะ]] (ผู้สมัครอิสระ) – นักกิจกรรมทางการเมือง (หมายเลข 3)
* [[ประวิทย์ รุจิรวงศ์]] ([[พรรคประชาธิปัตย์]]) – ประธานสภากรุงเทพมหานคร (2530-2532) (หมายเลข 2)
*[[จำลอง ศรีเมือง|พลตรี จำลอง ศรีเมือง]] ([[พรรคพลังธรรม]]) – [[สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร]] (มีนาคม 2535-2538), [[ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร]] (2528-2535) (หมายเลข 4)
* นิยม ปุราคำ ([[พรรคมวลชน]])<ref>http://cuir.car.chula.ac.th/dspace/bitstream/123456789/29476/8/Pakakul_si_ch1.pdf</ref> – อดีตเลขาธิการ[[สำนักงานสถิติแห่งชาติ|สถิติแห่งชาติ]] (2527-2532) (หมายเลข 4)
*[[พิจิตต รัตตกุล]] (กลุ่มมดงาน) – อดีต [[รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของไทย|รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และ พลังงาน]] และ [[สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร]] (2526-2531) โดยในการเลือกตั้งครั้งนี้ ยังได้รับการสนับสนุนจาก [[พรรคประชาธิปัตย์]] อีกด้วย โดยทางพรรค ไม่ส่งผู้สมัครลงเลือกตั้งเลย (หมายเลข 5)
* [[จำลอง ศรีเมือง|พลตรี จำลอง ศรีเมือง]] ([[พรรคพลังธรรม]]) – [[ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร]] (2528-2533) โดยในครั้งนี้ พลตรี จำลอง ลงสมัครในนามพรรคการเมือง คือ พรรคพลังธรรม ที่พลตรี จำลองเอง ก่อตั้งขึ้น (หมายเลข 5)
*[[กฤษฎา อรุณวงษ์ ณ อยุธยา|ร้อยเอก กฤษฎา อรุณวงษ์ ณ อยุธยา]] ([[พรรคประชากรไทย]]) – [[ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร]] (2535-2539) เนื่องจากในการเลือกตั้งครั้งนี้ พรรคพลังธรรมมีประสงค์จะส่ง พลตรี จำลอง ลงสมัครในนามพรรค ทำให้ ร้อยเอก กฤษฎา ลาออกจากพรรค และ ได้รับการเทียบเชิญจากทางพรรคประชากรไทย ให้ลงสมัครในนามของพรรค (หมายเลข 6)
* [[เดโช สวนานนท์]] ([[พรรคประชากรไทย]]) – [[สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร#%E0%B8%8A%E0%B8%B8%E0%B8%94%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88 14%E2%80%9315; %E0%B8%9E.%E0%B8%A8. 2526%E2%80%932529|สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร 2529]] และ อดีตอธิบดี [[กรมศิลปากร]] (หมายเลข 6)
* สมิตร สมิทธินันท์ (ผู้สมัครอิสระ) – นักกิจกรรมทางการเมือง (หมายเลข 7)
* สมิตร สมิทธินันท์ (ผู้สมัครอิสระ) – นักกิจกรรมทางการเมือง (หมายเลข 11)
* [[ประพันธ์ศักดิ์ กมลเพ็ชร]] (ขบวนการรัฐบุรุษ) – นักกิจกรรมทางการเมือง หนึ่งใน "13 ขบถ รัฐธรรมนูญ" และ สมาชิก [[สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2516|สภานิติบัญญัติแห่งชาติ 2516]] (หมายเลข 8)
* [[เชาวรินธร์ ลัทธศักดิ์ศิริ|ร้อยตำรวจโท เชาวริน ลัทธศักดิ์ศิริ]] (ผู้สมัครอิสระ) – [[สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดราชบุรี|สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดราชบุรี 2522-2529]] (หมายเลข 9)
* พันตำรวจตรี อนันต์ เสนาขันธ์ (คณะเทอดไทยเพื่อกรุงเทพมหานคร) – นักกิจกรรมทางการเมือง และ อดีตข้าราชการตำรวจ (หมายเลข 16)


== ผลการเลือกตั้ง ==
ในการเลือกตั้งครั้งนี้ ได้มีผู้สมัครทั้งสังกัด[[พรรคการเมือง]]และอิสระ ได้แก่ ดร.[[พิจิตต รัตตกุล]] ผู้สมัครอิสระ ที่[[การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2535|เคยลงเลือกตั้งมาแล้วในปี พ.ศ. 2535]] ในสังกัด[[พรรคประชาธิปัตย์]], และนาย[[อากร ฮุนตระกูล]] อดีต[[สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร]] (ส.ส.) [[กรุงเทพมหานคร]] [[พรรคพลังธรรม]] ซึ่งลงอิสระ ขณะที่ พลตรี [[จำลอง ศรีเมือง]] อดีตผู้ว่าฯ 2 สมัย ก็ได้ตัดสินใจลงรับสมัครอีกครั้ง เป็นสมัยที่ 3 ในสังกัดพรรคพลังธรรม ส่วน ร.อ.กฤษฎา อรุณวงษ์ ณ อยุธยา อดีตผู้ว่าฯ ซึ่งเดิมสังกัดพรรคพลังธรรมนั้น เมื่อ พล.ต.จำลอง ซึ่งเป็นผู้ก่อตั้งพรรคประสงค์จะลงสมัคร จึงจำเป็นต้องหลีกทางออกมา ประจวบกับทางพรรคประชากรไทยของ นายสมัคร สุนทรเวช ยังไม่มีตัวผู้สมัครที่เหมาะสม จึงได้เชิญ ร.อ.กฤษฎา มาลงสมัครในนามพรรค แต่ไม่ได้สมัครเป็นสมาชิกพรรคแต่อย่างใด
'''ผลการเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2539'''
{| class="wikitable"
!หมายเลข
!ผู้สมัคร
!สังกัด
!คะแนนเสียง
|-
|'''5'''
|[[พิจิตต รัตตกุล|'''พิจิตต รัตตกุล''']]
|'''กลุ่มมดงาน'''
|'''764,994'''
|-
|4
|[[จำลอง ศรีเมือง|พลตรี จำลอง ศรีเมือง]]
|[[พรรคพลังธรรม]]
|514,401
|-
|6
|[[กฤษฎา อรุณวงษ์ ณ อยุธยา|ร้อยเอก กฤษฎา อรุณวงษ์ ณ อยุธยา]]
|[[พรรคประชากรไทย]]
|244,002
|-
|2
|[[อากร ฮุนตระกูล]]
|ผู้สมัครอิสระ
|29,084
|-
|3
|[[วรัญชัย โชคชนะ]]
|ผู้สมัครอิสระ
|1,011
|-
|11
|สมิตร สมิทธินันท์
|ผู้สมัครอิสระ
|616
|-
|1
|ดำริห์ รินวงษ์
|ผู้สมัครอิสระ
|581
|-
|9
|พันตำรวจโท สุธี สุทธิศิริวัฒนะ
|ผู้สมัครอิสระ
|522
|-
|7
|บุญญสิฐ สอนชัด
|ผู้สมัครอิสระ
|504
|-
|13
|พันตำรวจเอก กำพล ยุทธสารประสิทธิ์
|ผู้สมัครอิสระ
|390
|-
|11
|รัก พจนะไพบูลย์
|ผู้สมัครอิสระ
|295
|-
|29
|มานิตย์ มาทวิมล
|ผู้สมัครอิสระ
|280
|-
|24
|สิบเอก สุวัจน์ ดาราฤกษ์
|ผู้สมัครอิสระ
|224
|-
|25
|สัญชัย เตียงพาณิชย์
|ผู้สมัครอิสระ
|207
|-
|15
|ศุภชัย สิทธิเลิศประสิทธิ์
|ผู้สมัครอิสระ
|176
|-
|16
|พันตำรวจตรี สุขุม พันธุ์เพ็ง
|ผู้สมัครอิสระ
|148
|-
|8
|วารินทร์ สินสูงสุด
|ผู้สมัครอิสระ
|144
|-
|14
|สถิต พุทธจักรวาล
|ผู้สมัครอิสระ
|134
|-
|12
|ธีเกียรติ ไม้ไทย
|ผู้สมัครอิสระ
|133
|-
|10
|เทอดชน ถนอมวงศ์
|ผู้สมัครอิสระ
|101
|-
|20
|บุญช่วย วัฒนาวงศ์
|ผู้สมัครอิสระ
|96
|-
|28
|หม่อมราชวงศ์ นิตยจักร จักรพันธุ์
|ผู้สมัครอิสระ
|87
|-
|21
|ณัฐวิคม สิริอุไรกุล
|ผู้สมัครอิสระ
|66
|-
|26
|ศิลป วรรณปักษ์
|ผู้สมัครอิสระ
|65
|-
|18
|สุชาติ เกิดผล
|ผู้สมัครอิสระ
|64
|-
|19
|ชูศักดิ์ วรัคคกุล
|ผู้สมัครอิสระ
|59
|-
|27
|ไอศูรย์ หมั่นรักเรียน
|ผู้สมัครอิสระ
|57
|-
|23
|สอ เชื้อโพธิ์หัก
|ผู้สมัครอิสระ
|51
|-
|22
|พินิจ สกุลพราหมณ์
|ผู้สมัครอิสระ
|40
|-
| colspan="3" |รวมคะแนนเสียงที่ให้ผู้สมัครทั้งหมด
|1,558,532
|-
| colspan="3" |''บัตรเสีย''
|N/A
|-
| colspan="3" |'''รวม'''
|'''1,558,532'''
|-
| colspan="4" |ข้อมูล: <ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2539/D/048/23.PDF ประกาศกรุงเทพมหานคร เรื่อง ผลการเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร], เล่ม 113, ตอนที่ 48 ง, วันที่ 13 มิถุนายน พ.ศ. 2539, หน้า 23</ref>
|}


== ปฏิกิริยาหลังจากการเลือกตั้ง ==
โดยการเลือกตั้งมีขึ้นใน[[วันอาทิตย์]]ที่ [[2 มิถุนายน]] ปีเดียวกัน ผลการเลือกตั้ง ปรากฏว่า ดร.พิจิตต ที่หาเสียงโดยชูนโยบายด้าน[[สิ่งแวดล้อม]] และต้าน[[มลพิษ]]ทาง[[อากาศ]] ได้รับเลือกด้วยคะแนน 768,994 คะแนน คิดเป็น[[ร้อยละ]] 43.53<ref>[http://www.manager.co.th/politics/electionBK3.aspx สถิติการเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร จาก[[ผู้จัดการออนไลน์]]]</ref> ขณะที่ พล.ต.จำลอง ที่เคยชนะมาแล้วอย่างถล่มทลายเมื่อปี [[การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2528|พ.ศ. 2528]] และ [[การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2533|พ.ศ. 2533]] ได้คะแนน 514,401 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 33.09
โดยการเลือกตั้งมีขึ้นใน[[วันอาทิตย์]]ที่ [[2 มิถุนายน]] ปีเดียวกัน ผลการเลือกตั้ง ปรากฏว่า ดร.พิจิตต ที่หาเสียงโดยชูนโยบายด้าน[[สิ่งแวดล้อม]] และต้าน[[มลพิษ]]ทาง[[อากาศ]] ได้รับเลือกด้วยคะแนน 768,994 คะแนน คิดเป็น[[ร้อยละ]] 43.53<ref>[http://www.manager.co.th/politics/electionBK3.aspx สถิติการเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร จาก][[ผู้จัดการออนไลน์]]</ref> ขณะที่ พล.ต.จำลอง ที่เคยชนะมาแล้วอย่างถล่มทลายเมื่อปี [[การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2528|พ.ศ. 2528]] และ [[การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2533|พ.ศ. 2533]] ได้คะแนน 514,401 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 33.09


อนึ่ง การเลือกตั้งครั้งนี้มีผู้ออกมาใช้สิทธิคิดเป็นร้อยละ 51 มากกว่าครั้งที่ผ่าน ๆ มา โดยมีปรากฏการณ์ที่สำคัญที่เกิดขึ้น ได้แก่ แม้ว่า[[ฝน]]จะตกหนัก และบางครอบครัวที่ได้เดินทางออกไปเที่ยวยังต่างจังหวัด ก็รีบกลับมาให้ทันการลงคะแนน อีกทั้งยังมี[[Poll|การสำรวจคะแนนความนิยม]]จาก[[สถาบันอุดมศึกษา|สถาบันการศึกษา]]ต่าง ๆ บ่งชี้ว่า ดร.พิจิตต จะได้รับเลือกไปด้วยคะแนนเสียงขาดลอย ซึ่งผลก็ออกมาจริงตามนั้น ถึงขนาดที่คอลัมนิสต์ใน[[หนังสือพิมพ์]]บางรายได้เขียนแสดงความยินดีต่อ ดร.พิจิตต ล่วงหน้า<ref>"พิจิตต" โค่น "จำลอง" เข้าป้ายผู้ว่าฯ กทม., หน้า 251. ข่าวดัง 3 ทศวรรษหนังสือพิมพ์ มติชน ([[สำนักพิมพ์มติชน]], [[พ.ศ. 2550]]) ISBN 974-323-889-1 </ref>
อนึ่ง การเลือกตั้งครั้งนี้มีผู้ออกมาใช้สิทธิคิดเป็นร้อยละ 51 มากกว่าครั้งที่ผ่าน ๆ มา โดยมีปรากฏการณ์ที่สำคัญที่เกิดขึ้น ได้แก่ แม้ว่า[[ฝน]]จะตกหนัก และบางครอบครัวที่ได้เดินทางออกไปเที่ยวยังต่างจังหวัด ก็รีบกลับมาให้ทันการลงคะแนน อีกทั้งยังมี[[Poll|การสำรวจคะแนนความนิยม]]จาก[[สถาบันอุดมศึกษา|สถาบันการศึกษา]]ต่าง ๆ บ่งชี้ว่า ดร.พิจิตต จะได้รับเลือกไปด้วยคะแนนเสียงขาดลอย ซึ่งผลก็ออกมาจริงตามนั้น ถึงขนาดที่คอลัมนิสต์ใน[[หนังสือพิมพ์]]บางรายได้เขียนแสดงความยินดีต่อ ดร.พิจิตต ล่วงหน้า<ref>"พิจิตต" โค่น "จำลอง" เข้าป้ายผู้ว่าฯ กทม., หน้า 251. ข่าวดัง 3 ทศวรรษหนังสือพิมพ์ มติชน ([[สำนักพิมพ์มติชน]], [[พ.ศ. 2550]]) ISBN 974-323-889-1 </ref>

รุ่นแก้ไขเมื่อ 12:43, 23 มิถุนายน 2562

การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2539

← พ.ศ. 2535 2 มิถุนายน 2539 พ.ศ. 2543 →
  ไฟล์:พิจิตต รัตตกุล1.gif ไฟล์:Krisada aroon01.jpg
ผู้ได้รับเสนอชื่อ พิจิตต รัตตกุล พลตรี จำลอง ศรีเมือง ร้อยเอก กฤษฎา อรุณวงษ์ ณ อยุธยา
พรรค กลุ่มมดงาน พรรคพลังธรรม พรรคประชากรไทย
คะแนนเสียง 768,994 514,401 244,002

ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครก่อนการเลือกตั้ง

ร้อยเอก กฤษฎา อรุณวงษ์ ณ อยุธยา
พรรคพลังธรรม

ว่าที่ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร

พิจิตต รัตตกุล
กลุ่มมดงาน

การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2539 นับเป็น การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร เป็นครั้งที่ 5 สืบเนื่องจาก ร้อยเอก กฤษฎา อรุณวงษ์ ณ อยุธยา ได้ดำรงตำแหน่ง ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ครบวาระ (2535-2539) จึงจัดให้มีการเลือกตั้ง ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ในวันที่ 2 มิถุนายน 2539

สถานการณ์ก่อนการเลือกตั้ง

สืบเนื่องจาก การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ปี 2535 และ ร้อยเอก กฤษฎา อรุณวงษ์ ณ อยุธยา จาก พรรคพลังธรรม ได้รับการเลือกตั้ง

บัดนี้ ครบวาระการดำรงตำแหน่ง จึงเห็นสมควรให้มีการเลือกตั้ง ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร เสียใหม่ โดยกำหนดจัดการเลือกตั้ง ในวันที่ 2 มิถุนายน 2539

ผู้สมัครรับเลือกตั้ง

ในการเลือกตั้งครั้งนี้ มีผู้สมัครลงรับเลือกตั้งทั้งหมด 29 คน ซึ่งนับว่ามากที่สุดนับตั้งแต่จัดการเลือกตั้ง มีผู้สมัคร ทั้งที่สังกัดพรรคการเมืองและไม่สังกัดพรรคการเมือง โดยมีผู้สมัครที่น่าสนใจ อาทิ:[1]

ผลการเลือกตั้ง

ผลการเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2539

หมายเลข ผู้สมัคร สังกัด คะแนนเสียง
5 พิจิตต รัตตกุล กลุ่มมดงาน 764,994
4 พลตรี จำลอง ศรีเมือง พรรคพลังธรรม 514,401
6 ร้อยเอก กฤษฎา อรุณวงษ์ ณ อยุธยา พรรคประชากรไทย 244,002
2 อากร ฮุนตระกูล ผู้สมัครอิสระ 29,084
3 วรัญชัย โชคชนะ ผู้สมัครอิสระ 1,011
11 สมิตร สมิทธินันท์ ผู้สมัครอิสระ 616
1 ดำริห์ รินวงษ์ ผู้สมัครอิสระ 581
9 พันตำรวจโท สุธี สุทธิศิริวัฒนะ ผู้สมัครอิสระ 522
7 บุญญสิฐ สอนชัด ผู้สมัครอิสระ 504
13 พันตำรวจเอก กำพล ยุทธสารประสิทธิ์ ผู้สมัครอิสระ 390
11 รัก พจนะไพบูลย์ ผู้สมัครอิสระ 295
29 มานิตย์ มาทวิมล ผู้สมัครอิสระ 280
24 สิบเอก สุวัจน์ ดาราฤกษ์ ผู้สมัครอิสระ 224
25 สัญชัย เตียงพาณิชย์ ผู้สมัครอิสระ 207
15 ศุภชัย สิทธิเลิศประสิทธิ์ ผู้สมัครอิสระ 176
16 พันตำรวจตรี สุขุม พันธุ์เพ็ง ผู้สมัครอิสระ 148
8 วารินทร์ สินสูงสุด ผู้สมัครอิสระ 144
14 สถิต พุทธจักรวาล ผู้สมัครอิสระ 134
12 ธีเกียรติ ไม้ไทย ผู้สมัครอิสระ 133
10 เทอดชน ถนอมวงศ์ ผู้สมัครอิสระ 101
20 บุญช่วย วัฒนาวงศ์ ผู้สมัครอิสระ 96
28 หม่อมราชวงศ์ นิตยจักร จักรพันธุ์ ผู้สมัครอิสระ 87
21 ณัฐวิคม สิริอุไรกุล ผู้สมัครอิสระ 66
26 ศิลป วรรณปักษ์ ผู้สมัครอิสระ 65
18 สุชาติ เกิดผล ผู้สมัครอิสระ 64
19 ชูศักดิ์ วรัคคกุล ผู้สมัครอิสระ 59
27 ไอศูรย์ หมั่นรักเรียน ผู้สมัครอิสระ 57
23 สอ เชื้อโพธิ์หัก ผู้สมัครอิสระ 51
22 พินิจ สกุลพราหมณ์ ผู้สมัครอิสระ 40
รวมคะแนนเสียงที่ให้ผู้สมัครทั้งหมด 1,558,532
บัตรเสีย N/A
รวม 1,558,532
ข้อมูล: [2]

ปฏิกิริยาหลังจากการเลือกตั้ง

โดยการเลือกตั้งมีขึ้นในวันอาทิตย์ที่ 2 มิถุนายน ปีเดียวกัน ผลการเลือกตั้ง ปรากฏว่า ดร.พิจิตต ที่หาเสียงโดยชูนโยบายด้านสิ่งแวดล้อม และต้านมลพิษทางอากาศ ได้รับเลือกด้วยคะแนน 768,994 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 43.53[3] ขณะที่ พล.ต.จำลอง ที่เคยชนะมาแล้วอย่างถล่มทลายเมื่อปี พ.ศ. 2528 และ พ.ศ. 2533 ได้คะแนน 514,401 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 33.09

อนึ่ง การเลือกตั้งครั้งนี้มีผู้ออกมาใช้สิทธิคิดเป็นร้อยละ 51 มากกว่าครั้งที่ผ่าน ๆ มา โดยมีปรากฏการณ์ที่สำคัญที่เกิดขึ้น ได้แก่ แม้ว่าฝนจะตกหนัก และบางครอบครัวที่ได้เดินทางออกไปเที่ยวยังต่างจังหวัด ก็รีบกลับมาให้ทันการลงคะแนน อีกทั้งยังมีการสำรวจคะแนนความนิยมจากสถาบันการศึกษาต่าง ๆ บ่งชี้ว่า ดร.พิจิตต จะได้รับเลือกไปด้วยคะแนนเสียงขาดลอย ซึ่งผลก็ออกมาจริงตามนั้น ถึงขนาดที่คอลัมนิสต์ในหนังสือพิมพ์บางรายได้เขียนแสดงความยินดีต่อ ดร.พิจิตต ล่วงหน้า[4]

อ้างอิง

  1. http://digi.library.tu.ac.th/thesis/po/0640/09CHAPTER_3.pdf
  2. ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศกรุงเทพมหานคร เรื่อง ผลการเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร, เล่ม 113, ตอนที่ 48 ง, วันที่ 13 มิถุนายน พ.ศ. 2539, หน้า 23
  3. สถิติการเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร จากผู้จัดการออนไลน์
  4. "พิจิตต" โค่น "จำลอง" เข้าป้ายผู้ว่าฯ กทม., หน้า 251. ข่าวดัง 3 ทศวรรษหนังสือพิมพ์ มติชน (สำนักพิมพ์มติชน, พ.ศ. 2550) ISBN 974-323-889-1