ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ศาลาพระเกี้ยว"

พิกัด: 13°44′08″N 100°31′53″E / 13.735487°N 100.531432°E / 13.735487; 100.531432
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ScorpianPK (คุย | ส่วนร่วม)
Payajam (คุย | ส่วนร่วม)
ใส่แหล่งอ้างอิง และจะใส่ข้อมูลเพื่อพัฒนาต่อไป
ป้ายระบุ: ผู้ใช้แก้หน้าเปลี่ยนทาง
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{กล่องข้อมูล สิ่งก่อสร้าง
#เปลี่ยนทาง [[จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย#สถาปัตยกรรมที่สำคัญในมหาวิทยาลัย]]
| ชื่อสิ่งก่อสร้าง = ศาลาพระเกี้ยว
| ชื่อภาษาอื่น = Sala Prakeaw
| ชื่อเดิม =
| ภาพ = Salaprakeaw2015BFD.JPG
| คำบรรยายภาพ = ทางเข้าด้านหน้าของศาลาพระเกี้ยว
| สิ่งก่อสร้าง = อาคารเอนกประสงค์
| เมืองที่ตั้ง = [[จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]] [[ถนนพญาไท]] แขวงปทุมวัน [[เขตปทุมวัน]] [[กรุงเทพมหานคร]] [[รหัสไปรษณีย์ทั่วประเทศไทยเรียงตามจังหวัด|10330]]
| ประเทศที่ตั้ง = {{ธง|ไทย}} [[ไทย|ประเทศไทย]]
| ปีสร้าง = [[พ.ศ. 2508]] <br />แล้วเสร็จ [[พ.ศ. 2509]]
| ผู้สร้าง = [[จอมพล]] [[ประภาส จารุเสถียร]] อธิการบดีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
| ปีรื้อ =
| ปีบูรณะ = ครั้งแรก [[พ.ศ. 2522]]<br /> ครั้งที่สอง [[พ.ศ. 2557]]
| ผู้บูรณะ =
| แบบสถาปัตยกรรม = [[สถาปัตยกรรมสมัยใหม่]]
| โครงสร้าง = [[คอนกรีตเสริมแรง|คอนกรีตเสริมเหล็ก]]และ[[ไม้]]
| ขนาด =
| รายละเอียดอื่น =
| สถาปนิก = [[หม่อมเจ้าโวฒยากร วรวรรณ]] <br />เลิศ อุรัสยะนันท์
| วิศวกร = รชฎ กาญจนะวณิชย์
| ผู้ตกแต่งภายใน =
| สวน =
| ผู้ออกแบบผู้อื่น =
| รางวัล = รางวัลอนุรักษ์ศิลปะสถาปัตยกรรมดีเด่น ประจำปี 2559 จาก[[สมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูปถัมภ์]]
| สิ่งที่น่าสนใจ = อาคารมีลักษณะคล้าย[[พระเกี้ยว]] สัญลักษณ์ประจำจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
| พิกัดภูมิศาสตร์ = {{Coord|13.735487|N|100.531432|E|type:edu_region:TH|display=inline,title}}
| เว็บไซต์ =
| หมายเหตุ =
}}

'''ศาลาพระเกี้ยว''' เป็นอาคารเอนกประสงค์ของ[[จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]] สร้างในปี [[พ.ศ. 2508]]<ref>หอประวัติจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ศาลาพระเกี้ยว. 7 พฤศจิกายน 2552. http://www.memohall.chula.ac.th/article/ศาลาพระเกี้ยว/ (9 พฤษภาคม 2559 ที่เข้าถึง).</ref> ใช้เป็นสถานที่จัดกิจกรรมของมหาวิทยาลัยหลายอย่าง เช่น [[จุฬาฯวิชาการ]] ชั้นใต้ดินเป็น[[ศูนย์หนังสือจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]] ลักษณะภายนอกของศาลาพระเกี้ยวเป็น[[สถาปัตยกรรมสมัยใหม่]] รูปทรงคล้าย[[พระเกี้ยว]] ในปี [[พ.ศ. 2559]] ศาลาพระเกี้ยวได้รับการคัดเลือกให้รับรางวัลอาคารอนุรักษ์ศิลปะสถาปัตยกรรมดีเด่นจาก[[สมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูปถัมภ์]]<ref>สมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูปถัมภ์. ประกาศผลการคัดเลือก รางวัลอนุรักษ์ศิลปสถาปัตยกรรม ประจำปี 2559. 5 พฤษภาคม 2559. http://www.asa.or.th/en/node/140800 (9 พฤษภาคม 2559 ที่เข้าถึง).</ref>

== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 00:26, 9 พฤษภาคม 2559

ศาลาพระเกี้ยว
Sala Prakeaw
ทางเข้าด้านหน้าของศาลาพระเกี้ยว
แผนที่
ข้อมูลทั่วไป
ประเภทอาคารเอนกประสงค์
สถาปัตยกรรมสถาปัตยกรรมสมัยใหม่
เมืองจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ถนนพญาไท แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330
ประเทศไทย ประเทศไทย
พิกัด13°44′08″N 100°31′53″E / 13.735487°N 100.531432°E / 13.735487; 100.531432
เริ่มสร้างพ.ศ. 2508
แล้วเสร็จ พ.ศ. 2509
ปรับปรุงครั้งแรก พ.ศ. 2522
ครั้งที่สอง พ.ศ. 2557
ผู้สร้างจอมพล ประภาส จารุเสถียร อธิการบดีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ข้อมูลทางเทคนิค
โครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็กและไม้
การออกแบบและการก่อสร้าง
สถาปนิกหม่อมเจ้าโวฒยากร วรวรรณ
เลิศ อุรัสยะนันท์
วิศวกรรชฎ กาญจนะวณิชย์
รางวัลรางวัลอนุรักษ์ศิลปะสถาปัตยกรรมดีเด่น ประจำปี 2559 จากสมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูปถัมภ์

ศาลาพระเกี้ยว เป็นอาคารเอนกประสงค์ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สร้างในปี พ.ศ. 2508[1] ใช้เป็นสถานที่จัดกิจกรรมของมหาวิทยาลัยหลายอย่าง เช่น จุฬาฯวิชาการ ชั้นใต้ดินเป็นศูนย์หนังสือจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ลักษณะภายนอกของศาลาพระเกี้ยวเป็นสถาปัตยกรรมสมัยใหม่ รูปทรงคล้ายพระเกี้ยว ในปี พ.ศ. 2559 ศาลาพระเกี้ยวได้รับการคัดเลือกให้รับรางวัลอาคารอนุรักษ์ศิลปะสถาปัตยกรรมดีเด่นจากสมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูปถัมภ์[2]

อ้างอิง

  1. หอประวัติจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ศาลาพระเกี้ยว. 7 พฤศจิกายน 2552. http://www.memohall.chula.ac.th/article/ศาลาพระเกี้ยว/ (9 พฤษภาคม 2559 ที่เข้าถึง).
  2. สมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูปถัมภ์. ประกาศผลการคัดเลือก รางวัลอนุรักษ์ศิลปสถาปัตยกรรม ประจำปี 2559. 5 พฤษภาคม 2559. http://www.asa.or.th/en/node/140800 (9 พฤษภาคม 2559 ที่เข้าถึง).