ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แหล่งแซนาดู"

พิกัด: 40°25′N 116°05′E / 40.417°N 116.083°E / 40.417; 116.083
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
Potapt ย้ายหน้า แหล่งซานาตู ไปยัง แหล่งแซนาดู
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 3: บรรทัด 3:
|Image = [[ไฟล์:John-Speed-The-Kingdome-of-China-1626-2544.jpg|248px]]
|Image = [[ไฟล์:John-Speed-The-Kingdome-of-China-1626-2544.jpg|248px]]
|imagecaption = แหล่งแซนาดู
|imagecaption = แหล่งแซนาดู
|Country = สาธารณรัฐประชาชนจีน
|Country = จีน
|Name = แหล่งซานาตู
|Name = แหล่งแซนาดู
|Type = มรดกทางวัฒนธรรม
|Type = มรดกทางวัฒนธรรม
|Year = 2555
|Year = 2555
บรรทัด 10: บรรทัด 10:
|Link = http://whc.unesco.org/en/list/1389
|Link = http://whc.unesco.org/en/list/1389
}}
}}
ตั้งอยู่ทางตอนเหนือของกำแพงเมืองจีน แหล่งโบราณคดีซานาตูล้อมรอบด้วยซากเมืองหลวงตามตำนานของกุบไลข่าน ออกแบบโดยที่ปรึกษาชาวจีนของผู้ปกครองชาวมองโกล ชื่อ ลิว บิงซง (Liu Bingzhdong) ในปี ค.ศ.๑๒๕๖/ พ.ศ. ๑๗๙๙ บนพื้นที่มากกว่า ๒๕,๐๐๐ เฮกเตอร์ แหล่งแสดงให้เห็นถึงความพยายามที่เป็นเอกลักษณ์ด้วยการผสมผสานวัฒนธรรมของชาวมองโกลเร่ร่อนกับชาวจีนฮั่นเข้าด้วยกัน สถานที่นี้เป็นฐานที่มั่นจากที่ซึ่งกุบไลข่านสถาปนาราชวงศ์หยวนซึ่งปกครองจีนอยู่กว่าร้อยปี ขยายอาณาเขตข้ามทวีปเอเชียออกไป การถกเถียงในข้อศาสนาซึ่งเกิดขึ้นที่นี่ มีผลทำให้เกิดการแผ่กระจายพระพุทธศาสนาแบบทิเบตไปสู่เอเชียตะวันออกเฉียงเหนืออันเป็นวัฒนธรรมและประเพณีความเชื่อทางศาสนาหนึ่งที่ยังคงถือปฏิบัติอยู่จนทุกวันนี้ ตัวแหล่งได้รับการวางผังตามแบบอย่างความเชื่อเรื่องฮวงจุ้ยจีนซึ่งสัมพันธ์กับภูเขาและแม่น้ำ ร่องรอยของเมืองยังคงเหลือให้เห็น รวมทั้งวัดวาอาราม พระราชวัง สุสาน กระโจมพักแรมของชนเผ่าเร่ร่อน และคลองส่งน้ำไต้ฝานหยานควบคู่ไปกับทางน้ำอื่น ๆ
ตั้งอยู่ทางตอนเหนือของกำแพงเมืองจีน แหล่งโบราณคดีแซนาดูล้อมรอบด้วยซากเมืองหลวงตามตำนานของกุบไลข่าน ออกแบบโดยที่ปรึกษาชาวจีนของผู้ปกครองชาวมองโกล ชื่อ ลิว บิงซง (Liu Bingzhdong) ในปี ค.ศ.๑๒๕๖/ พ.ศ. ๑๗๙๙ บนพื้นที่มากกว่า ๒๕,๐๐๐ เฮกเตอร์ แหล่งแสดงให้เห็นถึงความพยายามที่เป็นเอกลักษณ์ด้วยการผสมผสานวัฒนธรรมของชาวมองโกลเร่ร่อนกับชาวจีนฮั่นเข้าด้วยกัน สถานที่นี้เป็นฐานที่มั่นจากที่ซึ่งกุบไลข่านสถาปนาราชวงศ์หยวนซึ่งปกครองจีนอยู่กว่าร้อยปี ขยายอาณาเขตข้ามทวีปเอเชียออกไป การถกเถียงในข้อศาสนาซึ่งเกิดขึ้นที่นี่ มีผลทำให้เกิดการแผ่กระจายพระพุทธศาสนาแบบทิเบตไปสู่เอเชียตะวันออกเฉียงเหนืออันเป็นวัฒนธรรมและประเพณีความเชื่อทางศาสนาหนึ่งที่ยังคงถือปฏิบัติอยู่จนทุกวันนี้ ตัวแหล่งได้รับการวางผังตามแบบอย่างความเชื่อเรื่องฮวงจุ้ยจีนซึ่งสัมพันธ์กับภูเขาและแม่น้ำ ร่องรอยของเมืองยังคงเหลือให้เห็น รวมทั้งวัดวาอาราม พระราชวัง สุสาน กระโจมพักแรมของชนเผ่าเร่ร่อน และคลองส่งน้ำไต้ฝานหยานควบคู่ไปกับทางน้ำอื่น ๆ
==มรดกโลก==
==มรดกโลก==
แหล่งแซนาดูได้รับลงทะเบียนเป็น[[มรดกโลก]]ในการประชุมคณะกรรมการมรดกโลกสมัยสามัญครั้งที่ 36เมื่อปี 2555ที่[[เซนต์ปีเตอร์เบิร์ก]] ประเทศ[[รัสเซีย]]ด้วยข้อกำหนดและหลักเกณฑ์ในการพิจารณา ดังต่อไปนี้
แหล่งแซนาดูได้รับลงทะเบียนเป็น[[มรดกโลก]]ในการประชุมคณะกรรมการมรดกโลกสมัยสามัญครั้งที่ 36เมื่อปี 2555ที่[[เซนต์ปีเตอร์เบิร์ก]] ประเทศ[[รัสเซีย]]ด้วยข้อกำหนดและหลักเกณฑ์ในการพิจารณา ดังต่อไปนี้

รุ่นแก้ไขเมื่อ 21:43, 22 กุมภาพันธ์ 2559

แหล่งแซนาดู *
  แหล่งมรดกโลกโดยยูเนสโก
แหล่งแซนาดู
ประเทศจีน
ประเภทมรดกทางวัฒนธรรม
เกณฑ์พิจารณา(ii) (iii) (iv) (vi)
ประวัติการขึ้นทะเบียน
ขึ้นทะเบียน2555 (คณะกรรมการสมัยที่ 36)
* ชื่อตามที่ได้ขึ้นทะเบียนในบัญชีแหล่งมรดกโลก
** ภูมิภาคที่จัดแบ่งโดยยูเนสโก

ตั้งอยู่ทางตอนเหนือของกำแพงเมืองจีน แหล่งโบราณคดีแซนาดูล้อมรอบด้วยซากเมืองหลวงตามตำนานของกุบไลข่าน ออกแบบโดยที่ปรึกษาชาวจีนของผู้ปกครองชาวมองโกล ชื่อ ลิว บิงซง (Liu Bingzhdong) ในปี ค.ศ.๑๒๕๖/ พ.ศ. ๑๗๙๙ บนพื้นที่มากกว่า ๒๕,๐๐๐ เฮกเตอร์ แหล่งแสดงให้เห็นถึงความพยายามที่เป็นเอกลักษณ์ด้วยการผสมผสานวัฒนธรรมของชาวมองโกลเร่ร่อนกับชาวจีนฮั่นเข้าด้วยกัน สถานที่นี้เป็นฐานที่มั่นจากที่ซึ่งกุบไลข่านสถาปนาราชวงศ์หยวนซึ่งปกครองจีนอยู่กว่าร้อยปี ขยายอาณาเขตข้ามทวีปเอเชียออกไป การถกเถียงในข้อศาสนาซึ่งเกิดขึ้นที่นี่ มีผลทำให้เกิดการแผ่กระจายพระพุทธศาสนาแบบทิเบตไปสู่เอเชียตะวันออกเฉียงเหนืออันเป็นวัฒนธรรมและประเพณีความเชื่อทางศาสนาหนึ่งที่ยังคงถือปฏิบัติอยู่จนทุกวันนี้ ตัวแหล่งได้รับการวางผังตามแบบอย่างความเชื่อเรื่องฮวงจุ้ยจีนซึ่งสัมพันธ์กับภูเขาและแม่น้ำ ร่องรอยของเมืองยังคงเหลือให้เห็น รวมทั้งวัดวาอาราม พระราชวัง สุสาน กระโจมพักแรมของชนเผ่าเร่ร่อน และคลองส่งน้ำไต้ฝานหยานควบคู่ไปกับทางน้ำอื่น ๆ

มรดกโลก

แหล่งแซนาดูได้รับลงทะเบียนเป็นมรดกโลกในการประชุมคณะกรรมการมรดกโลกสมัยสามัญครั้งที่ 36เมื่อปี 2555ที่เซนต์ปีเตอร์เบิร์ก ประเทศรัสเซียด้วยข้อกำหนดและหลักเกณฑ์ในการพิจารณา ดังต่อไปนี้

  • (ii) - เป็นสิ่งที่มีอิทธิพลยิ่ง ผลักดันให้เกิดการพัฒนาสืบต่อมาในด้านการออกแบบทางสถาปัตยกรรม อนุสรณ์สถาน ประติมากรรม สวน และภูมิทัศน์ ตลอดจนการพัฒนาศิลปกรรมที่เกี่ยวข้อง หรือการพัฒนาการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์ ซึ่งได้เกิดขึ้นในช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง หรือบนพื้นที่ใด ๆ ของโลกซึ่งทรงไว้ซึ่งวัฒนธรรม
  • (iii) - เป็นสิ่งที่ยืนยันถึงหลักฐานของวัฒนธรรมหรืออารยธรรมที่ปรากฏให้เห็นอยู่ในปัจจุบันหรือว่าที่สาบสูญไปแล้ว
  • (iv) - เป็นตัวอย่างอันโดดเด่นของประเภทของสิ่งก่อสร้างอันเป็นตัวแทนของการพัฒนา ทางด้านวัฒนธรรม สังคม ศิลปกรรม วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี อุตสาหกรรม ในประวัติศาสตร์ของมนุษยชาติ
  • (vi) - มีความคิดหรือความเชื่อที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับเหตุการณ์ หรือมีความโดดเด่นยิ่งในประวัติศาสตร์

อ้างอิง

[1]

40°25′N 116°05′E / 40.417°N 116.083°E / 40.417; 116.083