ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มิติ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Anonimeco (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
บรรทัด 54: บรรทัด 54:
* มิติ (ดาต้า แวร์เฮ้าส์) และ ตารางมิติ
* มิติ (ดาต้า แวร์เฮ้าส์) และ ตารางมิติ
* ไฮเปอร์สเปซ (กาล-อวกาศของมินคาวสกี, ช่องว่างของยูคลิด, ไฮเปอร์สเฟียร์, ไฮเปอร์เซอร์เฟส, เทสเซอแรคต์, ปริภูมิ[[ทอพอโลยี]]ไฮเปอร์สเปซ)
* ไฮเปอร์สเปซ (กาล-อวกาศของมินคาวสกี, ช่องว่างของยูคลิด, ไฮเปอร์สเฟียร์, ไฮเปอร์เซอร์เฟส, เทสเซอแรคต์, ปริภูมิ[[ทอพอโลยี]]ไฮเปอร์สเปซ)
{{โครงคณิตศาสตร์}}
{{โครงฟิสิกส์}}
{{โครงฟิสิกส์}}


บรรทัด 64: บรรทัด 63:
[[หมวดหมู่:หลักการสำคัญของฟิสิกส์]]
[[หมวดหมู่:หลักการสำคัญของฟิสิกส์]]
[[หมวดหมู่:มโนทัศน์ทางคณิตศาสตร์]]
[[หมวดหมู่:มโนทัศน์ทางคณิตศาสตร์]]
{{โครงคณิตศาสตร์}}


[[ckb:ڕەھەند]]
[[ckb:ڕەھەند]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 02:48, 8 สิงหาคม 2558

มิติ ความหมายโดยทั่วไปหมายถึง สิ่งที่บอกคุณสมบัติของวัตถุ ได้แก่ ความกว้าง ความยาว และ ความสูง ส่วนในทางคณิตศาสตร์ มิติ หมายถึงจำนวนตัวเลขที่ต้องการเพื่อระบุตำแหน่งและคุณสมบัติของวัตถุใด ๆ ในปริภูมิ ในศาสตร์ต่าง ๆ อาจนิยามความหมายของคำว่า มิติ แทนจำนวนพารามิเตอร์ที่เกี่ยวข้อง เช่น ต้นทุน และ ราคา ในทางเศรษฐศาสตร์

ตัวอย่างในทางภูมิศาสตร์เช่น จุดบนพื้นผิวโลก สามารถกำหนดได้โดยตัวเลขค่าละติจูดและลองจิจูด ทำให้แผนที่ดังกล่าวมีสองมิติ (ถึงแม้ว่าโลกจะมีรูปร่างเกือบทรงกลมซึ่งมีสามมิติก็ตาม) ในการกำหนดตำแหน่งเครื่องบินหรืออากาศยานอื่น นอกจากละติจูดและลองจิจูดแล้ว ยังมีอีกตัวแปรหนึ่งคือค่า ความสูงจากพื้นดิน ทำให้พิกัดของเครื่องบิน เป็นสามมิติ

เวลา สามารถใช้เป็นมิติที่สามหรือที่สี่ (เพิ่มจากพื้นที่สองหรือสามมิติเดิม) ในการกำหนดตำแหน่งได้

มิติในทางคณิตศาสตร์และฟิสิกส์

หมายเหตุ

  • Ma ทางคณิตศาสตร์
  • Ph ทางฟิสิกส์

อื่น ๆ

  • Ma สเปซ ฟิลลิ่ง เคริฟ (ทอพอโลยี)
  • องศาเสรี
  • มิติ (ดาต้า แวร์เฮ้าส์) และ ตารางมิติ
  • ไฮเปอร์สเปซ (กาล-อวกาศของมินคาวสกี, ช่องว่างของยูคลิด, ไฮเปอร์สเฟียร์, ไฮเปอร์เซอร์เฟส, เทสเซอแรคต์, ปริภูมิทอพอโลยีไฮเปอร์สเปซ)