ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มลิกา กันทอง"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่อ้างวิกิพีเดียด้วยกันเอง
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 9: บรรทัด 9:
| height = 1.77 เมตร
| height = 1.77 เมตร
| weight = 63 กก.
| weight = 63 กก.
| spike = 292 ซม.<ref name="fivb">{{cite web | url =http://www.fivb.org/EN/volleyball/competitions/WorldGrandPrix/2012/Players.asp?Tourn=WGP2012&Team=THA&No=114283 | title= Profil zawodniczki| language=en | accessdate= 2012-11-09}}</ref>
| spike = 310 ซม.{{อ้างอิง}}
| block = 290 ซม.{{อ้างอิง}}
| block = 278 ซม.<ref name="fivb" />
| position = บอลหลัก
| position = บอลหลัก
| currentclub = {{flagicon|THA}} [[สโมสรวอลเลย์บอลนครนนท์ 3BB|นครนนท์ 3BB]]
| currentclub = {{flagicon|THA}} [[สโมสรวอลเลย์บอลนครนนท์ 3BB|นครนนท์ 3BB]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 19:10, 20 เมษายน 2558

มลิกา กันทอง
ข้อมูลส่วนบุคคล
ชื่อเต็มมลิกา กันทอง
ชื่อเล่นปู
เกิด8 มกราคม พ.ศ. 2530 (37 ปี)
จังหวัดอ่างทอง ประเทศไทย
ส่วนสูง1.77 เมตร (5 ฟุต 10 นิ้ว)
น้ำหนัก63 กก.
กระโดดตบ292 ซม.[1]
บล็อก278 ซม.[1]
ข้อมูล
ตำแหน่งบอลหลัก
สโมสรปัจจุบันไทย นครนนท์ 3BB
หมายเลข15
ทีมชาติ
2006 - ปัจจุบันไทย ทีมชาติไทย
ขณะแจกลายเซ็นร่วมกับอัจฉราพร คงยศ

มลิกา กันทอง (ชื่อเล่น: ปู; 8 มกราคม พ.ศ. 2530 ที่อำเภอโพธิ์ทอง จังหวัดอ่างทอง[2] — ) เป็นนักกีฬาวอลเลย์บอลหญิงทีมชาติไทย ตำแหน่งบอลโค้ง เป็นหนึ่งในนักวอลเลย์บอลทีมชาติไทยที่ได้เล่นวอลเลย์บอลอาชีพในต่างประเทศ ปัจจุบันเล่นให้กับทีมนครนนท์ 3BB

ประวัติ

มลิกามีมารดาชื่อ เสทื้อน กันทอง มลิกา กันทอง มีชื่อเล่นว่า ปู เกิดเมื่อวันที่ 8 มกราคม พ.ศ. 2530 จบการศึกษาปริญญาตรี จากคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยรัตนบัณฑิต ส่วนเส้นทางสู่วงการวอลเลย์บอลนั้น มลิกาได้รู้จักกีฬาวอลเลย์บอลครั้งแรก เมื่อตอนอายุ 12 ปี ขณะกำลังเรียนอยู่ชั้น ป.6 จากนั้นในช่วงมัธยม มลิกาได้รับการฝึกซ้อมวอลเลย์บอลจาก 2 โรงเรียน ได้แก่ โรงเรียนกีฬาสุพรรณบุรี และโรงเรียนอุลิตไพบูลย์ จ.ชัยนาท จนทำให้ฝีมือเริ่มพัฒนามากขึ้น และขณะที่เรียนอยู่ชั้น ม.4 ก็ได้รับการคัดเลือกเป็นตัวแทนยุวชนทีมชาติไทย เพื่อลงแข่งชิงแชมป์อาเซียนกับชิงแชมป์เอเชีย

สโมสร

รางวัล

ผลงาน

ซีเกมส์

  • ไทย 2007 : เหรียญทอง
  • ลาว 2009 : เหรียญทอง
  • อินโดนีเซีย 2011 : เหรียญทอง
  • ประเทศพม่า 2013 : เหรียญทอง

เอเชียนเกมส์

  • เกาหลีใต้ 2014 : เหรียญทองแดง

วอลเลย์บอลชิงแชมป์เอเชีย

  • ไทย 2007 : เหรียญทองแดง
  • เวียดนาม 2009 : เหรียญทอง
  • ไทย 2013 : เหรียญทอง

เอเชียนคัพ

  • ไทย 2008 : เหรียญทองแดง
  • จีน 2010 : เหรียญเงิน
  • คาซัคสถาน 2012 : เหรียญทอง

เวิลด์กรังด์ปรีซ์

เวิลด์แกรนด์แชมเปียนคัพ

  • ญี่ปุ่น 2009 : อันดับ 6
  • ญี่ปุ่น 2013 : อันดับ 5

เครื่องราชอิสริยาภรณ์

อ้างอิง

  1. 1.0 1.1 "Profil zawodniczki" (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2012-11-09.
  2. สู้สุดใจ ไทยแลนด์, สารคดีทางไทยพีบีเอส: พฤหัสบดีที่ 26 กันยายน 2556
  3. ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก และเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ให้แก่นักกีฬาวอลเลย์บอลหญิงทีมชาติไทยและเจ้าหน้าที่ เล่ม ๑๓๐ ตอนที่ ๒๒ ข ๑๐ ตุลาคม ๒๕๕๖ หน้า ๑
  4. 20 นักตบปลื้มรับเครื่องราชฯทำคุณประโยชน์ด้านกีฬา

แหล่งข้อมูลอื่น