ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กรดคาร์บอนิก"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด
บรรทัด 28: บรรทัด 28:
}}
}}


'''กรดคาร์บอนิก''' ({{lang-en|Carbonic acid}}) เป็น[[กรด]]ชนิดหนึ่งที่มีอะตอมของ[[คาร์บอน]]เป็นส่วนประกอบ มี[[สูตรเคมี|สูตรโมเลกุล]] H<sub>2</sub>CO<sub>3</sub> กรดคาร์บอนิกยังใช้เป็นคำเรียก[[สารละลาย]]ของ[[คาร์บอนไดออกไซด์]]ใน[[น้ำ (โมเลกุล)|น้ำ]] ซึ่งมี H<sub>2</sub>CO<sub>3</sub> อยู่เล็กน้อย เราเรียกเกลือของกรดคาร์บอนิกว่า '''ไบคาร์บอเนต''' (หรือ '''ไฮโดรเจนคาร์บอเนต''') และ '''คาร์บอเนต'''
'''กรดคาร์บอนิก''' ({{lang-en|Carbonic acid}}) เป็น[[กรด]]ชนิดหนึ่งที่มีอะตอมของ[[คาร์บอน]]เป็นส่วนประกอบ มี[[สูตรเคมี|สูตรโมเลกุล]] H<sub>2</sub>CO<sub>3</sub> กรดคาร์บอนิกยังใช้เป็นคำเรียก[[สารละลาย]]ของ[[คาร์บอนไดออกไซด์]]ใน[[น้ำ (โมเลกุล)|น้ำ]] ซึ่งมี H<sub>2</sub>CO<sub>3</sub> อยู่เล็กน้อย เราเรียกเกลือของกรดคาร์บอนิกว่า '''ไบคาร์บอเนต''' (หรือ '''ไฮโดรเจนคาร์บอเนต''') และ '''คาร์บอเนต'''


คาร์บอนไดออกไซด์ที่ละลายน้ำเกิด[[สมดุลเคมี]]กับกรดคาร์บอนิก ดัง[[สมการเคมี|สมการ]]ต่อนี้
คาร์บอนไดออกไซด์ที่ละลายน้ำเกิด[[สมดุลเคมี]]กับกรดคาร์บอนิก ดัง[[สมการเคมี|สมการ]]ต่อนี้
::CO<sub>2</sub> + H<sub>2</sub>O → H<sub>2</sub>CO<sub>3</sub>
:: CO<sub>2</sub> + H<sub>2</sub>O → H<sub>2</sub>CO<sub>3</sub>


[[ค่าคงที่สมดุล]]ที่ 25&nbsp;°C เท่ากับ 1.70×10<sup>−3</sup>: ดังนั้น[[คาร์บอนไดออกไซด์]]ส่วนใหญ่จะไม่เปลี่ยนเป็นกรดคาร์บอนิกและยังคงอยู่เป็นโมเลกุล CO<sub>2</sub> ถ้าหากไม่มี[[ตัวเร่งปฏิกิริยา]] สมดุลข้างต้นจะเกิดขึ้นช้า โดยมี[[อัตราการเกิดปฏิกิริยา]] (rate constant) เท่ากับ 0.039 s<sup>−1</sup> สำหรับขาไป
[[ค่าคงที่สมดุล]]ที่ 25&nbsp;°C เท่ากับ 1.70×10<sup>−3</sup>: ดังนั้น[[คาร์บอนไดออกไซด์]]ส่วนใหญ่จะไม่เปลี่ยนเป็นกรดคาร์บอนิกและยังคงอยู่เป็นโมเลกุล CO<sub>2</sub> ถ้าหากไม่มี[[ตัวเร่งปฏิกิริยา]] สมดุลข้างต้นจะเกิดขึ้นช้า โดยมี[[อัตราการเกิดปฏิกิริยา]] (rate constant) เท่ากับ 0.039 s<sup>−1</sup> สำหรับขาไป
บรรทัด 38: บรรทัด 38:
:: (H<sub>2</sub>CO<sub>3</sub> → CO<sub>2</sub> + H<sub>2</sub>O).
:: (H<sub>2</sub>CO<sub>3</sub> → CO<sub>2</sub> + H<sub>2</sub>O).


สมดุลระหว่าง[[คาร์บอนไดออกไซด์]]และกรดคาร์บอนิก มีความสำคัญมากสำหรับการควบคุมความเป็นกรดของของเหลวในร่างกาย สิ่งมีชีวิตเกือบทุกชนิดมี[[เอนไซม์]]ชื่อ[[คาร์บอนิกแอนไฮเดรส]] เป็นตัวเร่งปฏิกิริยาระหว่างสารประกอบสองตัวนี้ โดยสามารถเร่งปฏิกิริยาให้เร็วขึ้นถึง 10<sup>9</sup> เท่า
สมดุลระหว่าง[[คาร์บอนไดออกไซด์]]และกรดคาร์บอนิก มีความสำคัญมากสำหรับการควบคุมความเป็นกรดของของเหลวในร่างกาย สิ่งมีชีวิตเกือบทุกชนิดมี[[เอนไซม์]]ชื่อ[[คาร์บอนิกแอนไฮเดรส]] เป็นตัวเร่งปฏิกิริยาระหว่างสารประกอบสองตัวนี้ โดยสามารถเร่งปฏิกิริยาให้เร็วขึ้นถึง 10<sup>9</sup> เท่า


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 20:52, 30 มกราคม 2556

กรดคาร์บอนิก
ชื่อ
ชื่ออื่น
Carbon dioxide solution, dihydrogen carbonate (IUPAC)
เลขทะเบียน
3D model (JSmol)
เคมสไปเดอร์
ECHA InfoCard 100.133.015 แก้ไขสิ่งนี้ที่วิกิสนเทศ
  • C (=O) (O) O
คุณสมบัติ
H2CO3
มวลโมเลกุล 62.03 g/mol
ความหนาแน่น 1.0 g/cm3 (dilute soln.)
จุดหลอมเหลว n/a
exists only in solution
pKa 10.25
หากมิได้ระบุเป็นอื่น ข้อมูลข้างต้นนี้คือข้อมูลสาร ณ ภาวะมาตรฐานที่ 25 °C, 100 kPa

กรดคาร์บอนิก (อังกฤษ: Carbonic acid) เป็นกรดชนิดหนึ่งที่มีอะตอมของคาร์บอนเป็นส่วนประกอบ มีสูตรโมเลกุล H2CO3 กรดคาร์บอนิกยังใช้เป็นคำเรียกสารละลายของคาร์บอนไดออกไซด์ในน้ำ ซึ่งมี H2CO3 อยู่เล็กน้อย เราเรียกเกลือของกรดคาร์บอนิกว่า ไบคาร์บอเนต (หรือ ไฮโดรเจนคาร์บอเนต) และ คาร์บอเนต

คาร์บอนไดออกไซด์ที่ละลายน้ำเกิดสมดุลเคมีกับกรดคาร์บอนิก ดังสมการต่อนี้

CO2 + H2O → H2CO3

ค่าคงที่สมดุลที่ 25 °C เท่ากับ 1.70×10−3: ดังนั้นคาร์บอนไดออกไซด์ส่วนใหญ่จะไม่เปลี่ยนเป็นกรดคาร์บอนิกและยังคงอยู่เป็นโมเลกุล CO2 ถ้าหากไม่มีตัวเร่งปฏิกิริยา สมดุลข้างต้นจะเกิดขึ้นช้า โดยมีอัตราการเกิดปฏิกิริยา (rate constant) เท่ากับ 0.039 s−1 สำหรับขาไป

(CO2 + H2O → H2CO3)

และ 23 s−1 สำหรับปฏิกิริยาย้อนกลับ

(H2CO3 → CO2 + H2O).

สมดุลระหว่างคาร์บอนไดออกไซด์และกรดคาร์บอนิก มีความสำคัญมากสำหรับการควบคุมความเป็นกรดของของเหลวในร่างกาย สิ่งมีชีวิตเกือบทุกชนิดมีเอนไซม์ชื่อคาร์บอนิกแอนไฮเดรส เป็นตัวเร่งปฏิกิริยาระหว่างสารประกอบสองตัวนี้ โดยสามารถเร่งปฏิกิริยาให้เร็วขึ้นถึง 109 เท่า

อ้างอิง

  • Welch, M. J.; Lipton, J. F.; Seck, J. A. (1969). J. Phys. Chem. 73:3351.
  • Jolly, W. L. (1991). Modern Inorganic Chemistry (2nd Edn.). New York:MgGraw-Hill. ISBN 0-07-112651-1.

ดูเพิ่ม

แหล่งข้อมูลอื่น