ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปางห้ามญาติ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Poonyo (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Budha_thai_hamyad.jpg|thumb|250px|ลักษณะของพระพุทธรูปปางห้ามญาติ]]
[[ไฟล์:Budha_thai_hamyad.jpg|thumb|250px|ลักษณะของพระพุทธรูปปางห้ามญาติ]]
'''ปางห้ามญาติ''' เป็น[[พระพุทธรูป]]อยู่ในอริยาบถยืน พระหัตถ์ซ้ายห้อยลงข้างพระวรกาย พระหัตถ์ขวายกขึ้นเสมอพระอุระ (อก) ตั้งฝ่าพระหัตถ์ยื่นออกไปข้างหน้าเป็นกิริยาห้าม ลักษณะเดียวกับ[[ปางห้ามสมุทร]]และ[[ปางห้ามพยาธิ]] นิยมทำเป็นแบบพระทรงเครื่อง
'''ปางห้ามพยาธิ''' เป็น[[พระพุทธรูป]]อยู่ในอริยาบถยืน พระหัตถ์ซ้ายห้อยลงข้างพระวรกาย พระหัตถ์ขวายกขึ้นเสมอพระอุระ (อก) ตั้งฝ่าพระหัตถ์ยื่นออกไปข้างหน้าเป็นกิริยาห้าม ลักษณะเดียวกับ[[ปางห้ามสมุทร]]และ[[ปางห้ามพยาธิ]] นิยมทำเป็นแบบพระทรงเครื่อง


== ประวัติ ==
== ประวัติ ==
เมื่อครั้งเกิดโรคระบาดครั้งใหญ่ขึ้นในเมืองไพศาลี มีประชาชนล้มตายเป็นจำนวนมาก กษัตริย์ลิจฉวี เจ้าผู้ครองเมืองจึงได้กราบบังคมทูลอาราธนาพระพุทธเจ้า ให้เสด็จมาโปรดชาวเมือง พระพุทธองค์จึงมีรับสั่งให้พระอานนท์ เจริญรัตนสูตร ([[รัตนปริตร]]) และประพรมน้ำพระพุทธมนต์รอบพระนคร ทำให้ภัยต่าง เช่นโรคร้ายหายสิ้นไปจากพระนครด้วยพระพุทธานุภาพ
ครั้งหนึ่งเมื่อเหล่ากษัตริย์ตระกูล[[ศากยวงศ์]] พระญาติฝ่ายพุทธบิดา และเหล่ากษัตริย์ตระกูล[[โกลิยวงศ์]] พระญาติฝ่ายพุทธมารดา เกิดการทะเลาะวิวาทกันเพราะเรื่องแย่งน้ำใน[[แม่น้ำ]][[โรหิณี]]เนื่องจากฝนแล้ง น้ำไม่เพียงพอ ทำให้การทะเลาะวิวาทลุกลามไป จนเกือบกลายเป็นศึกสงครามระหว่างกัน พระพุทธเจ้าทรงทราบเหตุด้วยพระญาณ จึงเสด็จไปห้ามสงคราม โดยตรัสให้เห็นถึงความไม่สมควรที่กษัตริย์ต้องมาฆ่าฟันกันด้วยสาเหตุเพียงแค่การแย่งน้ำเข้านา และได้ตรัสเตือนสติว่า ระหว่างน้ำกับความเป็นพี่น้อง อะไรสำคัญยิ่งกว่ากัน ทั้งสองฝ่ายจึงได้สติ คืนดีกัน และขอพระราชทานอภัยโทษต่อเบื้องพระพักตร์พระพุทธองค์


== ความเชื่อและคตินิยม ==
== ความเชื่อและคตินิยม ==
* เป็นพระพุทธรูปประจำวันเกิดของคนที่เกิด[[วันจันทร์]] เช่นเดียวกับ[[ปางห้ามสมุทร]] และ[[ปางห้ามพยาธิ]]
* เป็นพระพุทธรูปประจำวันเกิดของคนที่เกิดวันจันทร์ เช่นเดียวกับ[[ปางห้ามสมุทร]] และ[[ปางห้ามญาติ]]
* พระคาถาประจำวัน บท ยันทุนนิมิตตัง สวด 15 จบ
* พระคาถาประจำวัน บท ยันทุนนิมิตตัง สวด 15 จบ
* เป็นพระพุทธรูปประจำปีฉลูเช่นเดียวกับ[[ปางโปรดพุทธมารดา]]


{{คำพูด|ยันทุนนิมิตตัง อะวะมังคะลัญจะโย จามะนาโป สะกุณัสสะ สัทโท ปาปัคคะโห ทุสสุปินัง อะกันตัง พุทธานุภาเวนะ วินาสะเมนตุ<br> ยันทุนนิมิตตัง อะวะมังคะลัญจะโย จามะนาโป สะกุณัสสะ สัทโท ปาปัคคะโห ทุสสุปินัง อะกันตัง ธัมมานุภาเวนะ วินาสะเมนตุ<br> ยันทุนนิมิตตัง อะวะมังคะลัญจะโย จามะนาโป สะกุณัสสะ สัทโท ปาปัคคะโห ทุสสุปินัง อะกันตัง สังฆานุภาเวนะ วินาสะเมนตุ}}
=== พระคาถา ===
{{คำพูด|ยันทุนนิมิตตัง อะวะมังคะลัญจะโย จามะนาโป สะกุณัสสะ สัทโท ปาปัคคะโห ทุสสุปินัง อะกันตัง พุทธานุภาเวนะ วินาสะเมนตุ<br>ยันทุนนิมิตตัง อะวะมังคะลัญจะโย จามะนาโป สะกุณัสสะ สัทโท ปาปัคคะโห ทุสสุปินัง อะกันตัง ธัมมานุภาเวนะ วินาสะเมนตุ<br>ยันทุนนิมิตตัง อะวะมังคะลัญจะโย จามะนาโป สะกุณัสสะ สัทโท ปาปัคคะโห ทุสสุปินัง อะกันตัง สังฆานุภาเวนะ วินาสะเมนตุ}}


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==
บรรทัด 24: บรรทัด 22:
{{ปางพระพุทธรูป}}
{{ปางพระพุทธรูป}}


{{เรียงลำดับ|ห้ามญาติ}}
{{เรียงลำดับ|ห้ามพยาธิ}}
[[หมวดหมู่:ปางพระพุทธรูป]]
[[หมวดหมู่:ปางพระพุทธรูป]]
{{โครงพระพุทธศาสนา}}
{{โครงพระพุทธศาสนา}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 22:19, 24 มกราคม 2556

ลักษณะของพระพุทธรูปปางห้ามญาติ

ปางห้ามพยาธิ เป็นพระพุทธรูปอยู่ในอริยาบถยืน พระหัตถ์ซ้ายห้อยลงข้างพระวรกาย พระหัตถ์ขวายกขึ้นเสมอพระอุระ (อก) ตั้งฝ่าพระหัตถ์ยื่นออกไปข้างหน้าเป็นกิริยาห้าม ลักษณะเดียวกับปางห้ามสมุทรและปางห้ามพยาธิ นิยมทำเป็นแบบพระทรงเครื่อง

ประวัติ

เมื่อครั้งเกิดโรคระบาดครั้งใหญ่ขึ้นในเมืองไพศาลี มีประชาชนล้มตายเป็นจำนวนมาก กษัตริย์ลิจฉวี เจ้าผู้ครองเมืองจึงได้กราบบังคมทูลอาราธนาพระพุทธเจ้า ให้เสด็จมาโปรดชาวเมือง พระพุทธองค์จึงมีรับสั่งให้พระอานนท์ เจริญรัตนสูตร (รัตนปริตร) และประพรมน้ำพระพุทธมนต์รอบพระนคร ทำให้ภัยต่าง เช่นโรคร้ายหายสิ้นไปจากพระนครด้วยพระพุทธานุภาพ

ความเชื่อและคตินิยม

  • เป็นพระพุทธรูปประจำวันเกิดของคนที่เกิดวันจันทร์ เช่นเดียวกับปางห้ามสมุทร และปางห้ามญาติ
  • พระคาถาประจำวัน บท ยันทุนนิมิตตัง สวด 15 จบ

ยันทุนนิมิตตัง อะวะมังคะลัญจะโย จามะนาโป สะกุณัสสะ สัทโท ปาปัคคะโห ทุสสุปินัง อะกันตัง พุทธานุภาเวนะ วินาสะเมนตุ
ยันทุนนิมิตตัง อะวะมังคะลัญจะโย จามะนาโป สะกุณัสสะ สัทโท ปาปัคคะโห ทุสสุปินัง อะกันตัง ธัมมานุภาเวนะ วินาสะเมนตุ
ยันทุนนิมิตตัง อะวะมังคะลัญจะโย จามะนาโป สะกุณัสสะ สัทโท ปาปัคคะโห ทุสสุปินัง อะกันตัง สังฆานุภาเวนะ วินาสะเมนตุ

อ้างอิง

  • สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ. ตำนานพุทธเจดีย์. ธนบุรี  : ศิลปาบรรณาคาร โรงพิมพ์รุ่งวัฒนา, 2513.
  • เรื่องพระพุทธรูปปางต่างๆ หลวงบริบาลบุรีรัตน์ และนายเกษมบุญศรี (พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้พิมพ์ขึ้นเพื่อพระราชทานในงานพระราชกุศลราชคฤหมงคลขึ้นพระตำหนักจิตรลดารโหฐาน เมื่อวันที่ 31 ตุลาคม พ.ศ. 2500)
  • สกุลศิลปพระพุทธรูปในประเทศไทย อาจารย์จิตร บัวบุศย์
  • ศิลปในประเทศไทย ศาสตราจารย์ หม่อมเจ้าสุภัทรดิศ ดิสกุล