ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อำเภอวานรนิวาส"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{ช่วยดูหน่อย}}
{{ช่วยดูหน่อย}}
[[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ([[รัชกาลที่ 4]]) แห่ง [[ราชวงศ์จักรี]]
'''อำเภอวานรนิวาส''' เป็นอำเภอใน[[จังหวัดสกลนคร]] [[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ([[รัชกาลที่ 4]]) ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ เปลี่ยนชื่อเมืองสกลทวาปีเป็น[[สกลนคร]]ของชาวย้อเมืองพี่เมื่อ พ.ศ. 2281 และทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯยก “บ้านกุดลิง”
ของชาวโย้ย เป็นเมืองน้องให้คล้องจองกันเป็นเมือง “[[วานรนิวาส]]” เมื่อวัน จันทร์ แรม 1 ค่ำา เดือน 8 ปีระกา ตรีศก จศ. 1223 ตรงกับวันจันทร์ที่ 6 พ.ศ. 2404
ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ เปลี่ยนชื่อเมืองสกลทวาปีเป็น[[สกลนคร]]ของชาว
ย้อเมืองพี่เมื่อ พ.ศ. 2281 และทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯยก “บ้านกุดลิง”
ของชาวโย้ย เป็นเมืองน้องให้คล้องจองกันเป็นเมือง “[[วานรนิวาส]]” เมื่อวัน
จันทร์ แรม 1 ค่ํา เดือน 8 ปีระกา ตรีศก จศ. 1223 ตรงกับวันจันทร์ที่ 6 พ.ศ.
2404


== ประวัติ ==
== ประวัติ ==
เมื่อประมาณ [[พ.ศ. 2378]] [[พระสุนทรราชวงษา]]เจ้าเมือง[[นครพนม]]ได้เสร็จราชการสงครามแล้ว จึงกลับ เมือง[[ยโสธร]]ตามเดิม [[ท้าวจันโสม]]ซึ่งเป็น[[เพี้ย]] (ข้าราชการอีสานโบราณ) บ้าน ม่วงริมยาม ซึ่งคงจงรักภักดีต่อพระสุนทรราชวงษามาก ได้หาสมัครพรรค

พวกได้ประมาณ พันคนเศษ ตามพระสุนทรราชวงษา เจ้าเมืองยโสธร ไปตั้ง ครอบครัวที่บ้านกุดลิงแขวงเมือง[[ยโสธร]]กุดคือลําน้ำที่ไหลไม่หยุด ส่วนลิง
ประวัติความเป็นมาของอำเภอวานรนิวาส เมื่อประมาณ [[พ.ศ. 2378]]
คือต้นหูลิงมิใช้มีลิงอยู่มาก ท้าวจันโสม เห็นว่า “บ้านกุดลิง” คับแคบลําบากในการทํามาหากิน อีกทั้ง พระสุนทราชวงษา (ท้าวฝ่าย) เจ้านาย อาจจะอสัญกรรมหมดความ ผูกพันอีกทั้งคิดถึงญาติที่พี่น้องชาวโย้ย เดิมที่บ้านม่วงริมยาม จึงได้อพยพ กลับมาใกล้บริเวณเดิมที่บ้านท่าแร้(ตําบลแร่)อําเภอพังโคนในปัจจุบัน และ
[[พระสุนทรราชวงษา]]เจ้าเมือง[[นครพนม]]ได้เสร็จราชการสงครามแล้ว จึงกลับ
คงนําชื่อ บ้านกุดลิง ตามมา แต่แห้งแล้งอีก จึงอพยพมาอยู่บ้านชุมแสงหัวนา(บ้านและตําบลวานรนิวาสในปัจจุบัน) แต่ยังคงใช่ชื่อบ้านกุดลิงเช่นเดิม จนกระทั่ง พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่4 แห่งราชวงศ์จักรี ทรง พระกรุณาโปรดเกล้าฯ ยกบ้านกุลิงเป็นเมืองและพระราชทานนามว่า “วานรนิวาส" เมื่อวันที่ 6 กรกฎาคม [[พ.ศ. 2404]] ตั้งท้าวจันโสมเป็น เป็นหลวง ประชาราษฎร์รักษา(ฉิม ศรีถาพร)เป็นนายอําเภอวานรนิวาส คนแรก
เมือง[[ยโสธร]]ตามเดิม [[ท้าวจันโสม]]ซึ่งเป็น[[เพี้ย]] (ข้าราชการอีสานโบราณ) บ้าน
ม่วงริมยาม ซึ่งคงจงรักภักดีต่อพระสุนทรราชวงษามาก ได้หาสมัครพรรค
พวกได้ประมาณ พันคนเศษ ตามพระสุนทรราชวงษา เจ้าเมืองยโสธร ไปตั้ง
ครอบครัวที่บ้านกุดลิงแขวงเมือง[[ยโสธร]]กุดคือลําน้ำที่ไหลไม่หยุด ส่วนลิง
คือต้นหูลิงมิใช้มีลิงอยู่มาก
ท้าวจันโสม เห็นว่า “บ้านกุดลิง” คับแคบลําบากในการทํามาหากิน
อีกทั้ง พระสุนทราชวงษา (ท้าวฝ่าย) เจ้านาย อาจจะอสัญกรรมหมดความ
ผูกพันอีกทั้งคิดถึงญาติที่พี่น้องชาวโย้ย เดิมที่บ้านม่วงริมยาม จึงได้อพยพ
กลับมาใกล้บริเวณเดิมที่บ้านท่าแร้(ตําบลแร่)อําเภอพังโคนในปัจจุบัน และ
คงนําชื่อ บ้านกุดลิง ตามมา แต่แห้งแล้งอีก จึงอพยพมาอยู่บ้านชุมแสงหัวนา
(บ้านและตําบลวานรนิวาสในปัจจุบัน) แต่ยังคงใช่ชื่อบ้านกุดลิงเช่นเดิม
จนกระทั่ง พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่4 แห่งราชวงศ์จักรี ทรง
พระกรุณาโปรดเกล้าฯ ยกบ้านกุลิงเป็นเมืองและพระราชทานนามว่า
“วานรนิวาส" เมื่อวันที่ 6 กรกฎาคม [[พ.ศ. 2404]] ตั้งท้าวจันโสมเป็น เป็นหลวง
ประชาราษฎร์รักษา(ฉิม ศรีถาพร)เป็นนายอําเภอวานรนิวาส คนแรก


== ที่ตั้งและอาณาเขต ==
== ที่ตั้งและอาณาเขต ==
บรรทัด 85: บรรทัด 67:


{{โครงจังหวัด}}
{{โครงจังหวัด}}
[[หมวดหมู่:อำเภอในจังหวัดสกลนคร|วานรนิวาส]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 16:19, 8 มีนาคม 2550

อำเภอวานรนิวาส เป็นอำเภอในจังหวัดสกลนคร พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 4) ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ เปลี่ยนชื่อเมืองสกลทวาปีเป็นสกลนครของชาวย้อเมืองพี่เมื่อ พ.ศ. 2281 และทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯยก “บ้านกุดลิง” ของชาวโย้ย เป็นเมืองน้องให้คล้องจองกันเป็นเมือง “วานรนิวาส” เมื่อวัน จันทร์ แรม 1 ค่ำา เดือน 8 ปีระกา ตรีศก จศ. 1223 ตรงกับวันจันทร์ที่ 6 พ.ศ. 2404

ประวัติ

เมื่อประมาณ พ.ศ. 2378 พระสุนทรราชวงษาเจ้าเมืองนครพนมได้เสร็จราชการสงครามแล้ว จึงกลับ เมืองยโสธรตามเดิม ท้าวจันโสมซึ่งเป็นเพี้ย (ข้าราชการอีสานโบราณ) บ้าน ม่วงริมยาม ซึ่งคงจงรักภักดีต่อพระสุนทรราชวงษามาก ได้หาสมัครพรรค พวกได้ประมาณ พันคนเศษ ตามพระสุนทรราชวงษา เจ้าเมืองยโสธร ไปตั้ง ครอบครัวที่บ้านกุดลิงแขวงเมืองยโสธรกุดคือลําน้ำที่ไหลไม่หยุด ส่วนลิง คือต้นหูลิงมิใช้มีลิงอยู่มาก ท้าวจันโสม เห็นว่า “บ้านกุดลิง” คับแคบลําบากในการทํามาหากิน อีกทั้ง พระสุนทราชวงษา (ท้าวฝ่าย) เจ้านาย อาจจะอสัญกรรมหมดความ ผูกพันอีกทั้งคิดถึงญาติที่พี่น้องชาวโย้ย เดิมที่บ้านม่วงริมยาม จึงได้อพยพ กลับมาใกล้บริเวณเดิมที่บ้านท่าแร้(ตําบลแร่)อําเภอพังโคนในปัจจุบัน และ คงนําชื่อ บ้านกุดลิง ตามมา แต่แห้งแล้งอีก จึงอพยพมาอยู่บ้านชุมแสงหัวนา(บ้านและตําบลวานรนิวาสในปัจจุบัน) แต่ยังคงใช่ชื่อบ้านกุดลิงเช่นเดิม จนกระทั่ง พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่4 แห่งราชวงศ์จักรี ทรง พระกรุณาโปรดเกล้าฯ ยกบ้านกุลิงเป็นเมืองและพระราชทานนามว่า “วานรนิวาส" เมื่อวันที่ 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2404 ตั้งท้าวจันโสมเป็น เป็นหลวง ประชาราษฎร์รักษา(ฉิม ศรีถาพร)เป็นนายอําเภอวานรนิวาส คนแรก

ที่ตั้งและอาณาเขต

ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตก ค่อนไปทางทิศเหนือของจังหวัดสกลนคร พื้นที่ 1,001 ตารางกิโลเมตร ห่างจากจังหวัดสกลนคร 82 กิโลเมตร และห่างจาก กรุงเทพมหานครประมาณ 780 กิโลเมตร มีอาณาเขตดังนี้

ตราประจำอำเภอ

ตราหนุมาน

ตำบลในการปกครอง

ตำบลวานรนิวาส ตำบลเดื่อศรีคันชัย ตำบลศรีวิชัย ตำบลหนองสนม ตำบลหนองแวง ตำบลนาซอ ตำบลขัวก่าย ตำบลคูสะคาม ตำบลอินทร์แปลง ตำบลนาคำ ตำบลคอนสวรรค์ ตำบลกุดเรือคำ ตำบลหนองแวงใต้ ตำบลธาตุ

ประชากร

อําเภอวานรนิวาส มีประชากรรวมทั้งสิ้น 103,630 คน เป็นชาย 51,714คน หญิง51,916คน ผูมีสิทธิ์เลือกตั้ง59,342คน ประชากรจํานวน 18,453ครัวเรือน นับถือศาสนาพุทธ95.1% ศาสนาคริสต์4.8% ศาสนา อิสลาม0.1%


คำขวัญ

วานรเมืองธรรมะ วัดเสพระตะเคียนใหญ่ หินเหิบไหมมัดหมี่ คอนศรีข้าวเหม่าหวาน หนองม่วงงานแข่งเรือ ม่วนเหลือบุญพระเวสสันดร ออนซอนอ่างเก็บน้ำห้วยโทง


ลิงก์ภายนอก