ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ชะรีอะฮ์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Xqbot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.2) (โรบอต เพิ่ม: bo:ཤ་རི་ཡ།; ปรับแต่งให้อ่านง่าย
บรรทัด 19: บรรทัด 19:


{{เรียงลำดับ|กฎหมายชาริอะห์}}
{{เรียงลำดับ|กฎหมายชาริอะห์}}
{{โครงศาสนา}}


[[หมวดหมู่:กฎหมายชาริอะห์| ]]
[[หมวดหมู่:กฎหมายชาริอะห์| ]]
[[หมวดหมู่:ระบบกฎหมาย]]
[[หมวดหมู่:ระบบกฎหมาย]]
[[หมวดหมู่:ศาสนาอิสลาม]]
[[หมวดหมู่:ศาสนาอิสลาม]]
{{โครงศาสนา}}


[[ar:شريعة إسلامية]]
[[ar:شريعة إسلامية]]
บรรทัด 31: บรรทัด 31:
[[be-x-old:Шарыят]]
[[be-x-old:Шарыят]]
[[bg:Шариат]]
[[bg:Шариат]]
[[bo:ཤ་རི་ཡ།]]
[[bs:Šerijat]]
[[bs:Šerijat]]
[[ca:Xaria]]
[[ca:Xaria]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 15:50, 11 ธันวาคม 2554


ประเทศสีเขียวเป็นประเทศที่กฎหมายชะรีอะฮ์ใช้บังคับ

กฎหมายชะรีอะฮ์ (อังกฤษ: Sharia หรือ Shari'ah) คือประมวลข้อปฏิบัติต่าง ๆ ของกฎหมายศาสนาของศาสนาอิสลาม คำว่า “ชะรีอะฮ์” แปลว่า “ทาง” หรือ “ทางไปสู่แหล่งน้ำ” กฎหมายชะรีอะฮ์คือโครงสร้างทางกฎหมายที่ครอบคลุมวิถีการดำเนินชีวิตของบุคคลและสารธารณชนที่มีพื้นฐานมาจากหลักนิติศาสตร์ (jurisprudence) ของศาสนาอิสลามสำหรับใช้โดยมุสลิม

กฎหมายชะรีอะฮ์ครอบคลุมด้านต่าง ๆ ของชีวิตประจำวันที่รวมทั้งระบบการปกครอง ระบบเศรษฐกิจ ระบบการดำเนินธุรกิจ ระบบการธนาคาร ระบบการทำสัญญา ความสัมพันธ์ในครอบครัว หลักของความสัมพันธ์ทางเพศ หลักการอนามัย และปัญหาสังคม

กฎหมายชะรีอะฮ์ในปัจจุบันเป็นกฎหมายศาสนาที่ใช้กันอย่างกว้างขวางที่สุดและเป็นกฎหมายที่ปรากฏบ่อยที่สุดของระบบกฎหมายของโลกพอ ๆ กับคอมมอนลอว์ และ กฎหมายแพ่ง[1] ระหว่างยุคทองของอิสลามกฎหมายอิสลามอาจจะมีอิทธิพลต่อการวิวัฒนาการของคอมมอนลอว์[2] ซึ่งก็ทำให้มีอิทธิพลต่อการวิวัฒนาการของคอมมอนลอว์ระดับสถาบันต่าง ๆ[3]

อ้างอิง

  1. (Badr 1978)
  2. (Makdisi 1999)
  3. (Badr 1978, pp. 196–8)

ดูเพิ่ม

แหล่งข้อมูลอื่น