ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กบิลพัสดุ์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ArthurBot (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{รอการตรวจสอบ}}
{{รอการตรวจสอบ}}
{{สถานที่สำคัญในพุทธภูมิ}}
{{สถานที่สำคัญในพุทธภูมิ}}
'''กบิลพัสดุ์''' เป็นชื่อเมืองหลวงของ[[แคว้นสักกะ]] เป็นเมืองของ[[พระเจ้าสุทโธทนะ]]ผู้เป็นพระราชบิดาของ[[เจ้าชายสิทธัตถะ]]ซึ่งต่อมาได้ตรัสรู้เป็น[[พระพุทธเจ้า]] เป็นเมืองที่พระพุทธเจ้าทรงเจริญเติบโตและประทับอยู่จนกระทั่งพระชนมายุ 29 ปี ปัจจุบันอยู่ในเขตประเทศ[[เนปาล]] ติดชายแดนตอนเหนือประเทศ[[อินเดีย]] ยังเหลือซากเมืองอยู่เป็นหลักฐาน และไม่ห่างจากเมืองนี้มี[[สังเวชนียสถาน]]ที่สำคัญคือสถานที่ประสูติของพระพุทธเจ้าซึ่งเรียกว่า[[ลุมพินีวัน]]ปรากฏอยู่ บริเวณลุมพินีมีวัดพุทธของประเทศไทยและของประเทศที่นับถือพระพุทธศาสนาอีกหลายวัด เป็นดินแดนที่พุทธศาสนิกชนทั่วโลกนิยมไปแสวงบุญกัน
'''กบิลพัสดุ์''' เป็นชื่อเมืองหลวงของ[[แคว้นสักกะ]] เป็นเมืองของ[[พระเจ้าสุทโธทนะ]]ผู้เป็นพระราชบิดาของ[[เจ้าชายสิทธัตถะ]]ซึ่งต่อมาได้ตรัสรู้เป็น[[พระพุทธเจ้า]] เป็นเมืองที่[[พระพุทธเจ้า]]ทรงเจริญเติบโตและประทับอยู่จนกระทั่งพระชนมายุ 29 ปี ปัจจุบันอยู่ในเขตประเทศ[[เนปาล]] ติดชายแดนตอนเหนือประเทศ[[อินเดีย]] ยังเหลือซากเมืองอยู่เป็นหลักฐาน และไม่ห่างจากเมืองนี้มี[[สังเวชนียสถาน]]ที่สำคัญคือสถานที่ประสูติของ[[พระพุทธเจ้า]]ซึ่งเรียกว่า[[ลุมพินีวัน]]ปรากฏอยู่ บริเวณลุมพินีมีวัดพุทธของ[[ประเทศไทย]]และของประเทศที่นับถือพระพุทธศาสนาอีกหลายวัด เป็นดินแดนที่พุทธศาสนิกชนทั่วโลกนิยมไปแสวงบุญกัน


'''กบิลพัสดุ์''' แปลตามศัพท์ว่า ''ที่อยู่ของ[[กบิลดาบส]]'' เพราะบริเวณที่ตั้งเมืองนี้เคยเคยเป็นที่อยู่อาศัยของ[[ดาบส]]ชื่อ ''กบิล'' พวกเจ้า[[ศากยะ]]ได้มาจับจองตั้งเป็นเมืองขึ้นและตั้งชื่อเมืองใหม่นี้กันว่า '''กบิลพัสดุ์''' เพื่อเป็นอนุสรณ์แก่กบิลดาบส
'''กบิลพัสดุ์''' แปลตามศัพท์ว่า ''ที่อยู่ของ[[กบิลดาบส]]'' เพราะบริเวณที่ตั้งเมืองนี้เคยเคยเป็นที่อยู่อาศัยของ[[ดาบส]]ชื่อ ''กบิล'' พวกเจ้า[[ศากยะ]]ได้มาจับจองตั้งเป็นเมืองขึ้นและตั้งชื่อเมืองใหม่นี้กันว่า '''กบิลพัสดุ์''' เพื่อเป็นอนุสรณ์แก่[[กบิลดาบส]]


== ความสำคัญ ==
== ความสำคัญ ==
บรรทัด 9: บรรทัด 9:


=== เมืองกบิลพัสดุ์ในปัจจุบัน ===
=== เมืองกบิลพัสดุ์ในปัจจุบัน ===
ในปี พ.ศ. 2442 นักโบราณคดีได้แกะรอยแนวที่ตั้งของเสาพระเจ้าอโศก และ ตำนานการสร้างเมืองมาจนพบกับเมืองโบราณร้าง ชื่อ ติเลาราโกต อยู่ในตำแหน่งที่ตรงกับเมืองกบิลพัสดุ์ ตามที่ระบุในเอกสารหลายฉบับ
ในปี พ.ศ. 2442 นักโบราณคดีได้แกะรอยแนวที่ตั้งของเสา[[พระเจ้าอโศก]] และ ตำนานการสร้างเมืองมาจนพบกับเมืองโบราณร้าง ชื่อ ติเลาราโกต อยู่ในตำแหน่งที่ตรงกับเมืองกบิลพัสดุ์ ตามที่ระบุในเอกสารหลายฉบับ
<br><br>
<br><br>
''อยู่ทางใต้ของเชิงเขาหิมาลัย 16 กิโลเมตร'' <br>
''อยู่ทางใต้ของเชิงเขาหิมาลัย 16 กิโลเมตร'' <br>

รุ่นแก้ไขเมื่อ 13:28, 6 กรกฎาคม 2553

กบิลพัสดุ์ เป็นชื่อเมืองหลวงของแคว้นสักกะ เป็นเมืองของพระเจ้าสุทโธทนะผู้เป็นพระราชบิดาของเจ้าชายสิทธัตถะซึ่งต่อมาได้ตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้า เป็นเมืองที่พระพุทธเจ้าทรงเจริญเติบโตและประทับอยู่จนกระทั่งพระชนมายุ 29 ปี ปัจจุบันอยู่ในเขตประเทศเนปาล ติดชายแดนตอนเหนือประเทศอินเดีย ยังเหลือซากเมืองอยู่เป็นหลักฐาน และไม่ห่างจากเมืองนี้มีสังเวชนียสถานที่สำคัญคือสถานที่ประสูติของพระพุทธเจ้าซึ่งเรียกว่าลุมพินีวันปรากฏอยู่ บริเวณลุมพินีมีวัดพุทธของประเทศไทยและของประเทศที่นับถือพระพุทธศาสนาอีกหลายวัด เป็นดินแดนที่พุทธศาสนิกชนทั่วโลกนิยมไปแสวงบุญกัน

กบิลพัสดุ์ แปลตามศัพท์ว่า ที่อยู่ของกบิลดาบส เพราะบริเวณที่ตั้งเมืองนี้เคยเคยเป็นที่อยู่อาศัยของดาบสชื่อ กบิล พวกเจ้าศากยะได้มาจับจองตั้งเป็นเมืองขึ้นและตั้งชื่อเมืองใหม่นี้กันว่า กบิลพัสดุ์ เพื่อเป็นอนุสรณ์แก่กบิลดาบส

ความสำคัญ

เมืองกบิลพัสดุ์ในปัจจุบัน

ในปี พ.ศ. 2442 นักโบราณคดีได้แกะรอยแนวที่ตั้งของเสาพระเจ้าอโศก และ ตำนานการสร้างเมืองมาจนพบกับเมืองโบราณร้าง ชื่อ ติเลาราโกต อยู่ในตำแหน่งที่ตรงกับเมืองกบิลพัสดุ์ ตามที่ระบุในเอกสารหลายฉบับ

อยู่ทางใต้ของเชิงเขาหิมาลัย 16 กิโลเมตร
สวนลุมพินีวันห่างออกไป 35 กิโลเมตร ทางตะวันออก
ทางตะวันตกมีลำน้ำสาขาของแม่น้ำคงคาไหลผ่าน

หลักฐานจากการขุดค้นทางโบราณคดียืนยันว่า มีความเป็นเมืองโบราณตั้งแต่ก่อนพุทธกาลประมาณ 100 ปีและได้ความเจริญต่อเนื่องมาจนถึงปลายพุทธศตวรรษที่ 7 ก่อนที่จะถูกทิ้งร้างไป
ปัจจุบันเมืองโบราณ ติเลาราโกต แห่งนี้ และ ลุมพินีวัน ได้ถูกยกย่องโดย UNESCO ให้นับเป็นมรดกโลกที่อยู่ในประเทศเนปาล

อ้างอิง

ดูเพิ่ม

แหล่งข้อมูลอื่น

แม่แบบ:Coor box