งูหางแฮ่มกาญจน์
หน้าตา
งูหางแฮ่มกาญจน์ | |
---|---|
สถานะการอนุรักษ์ | |
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์ | |
อาณาจักร: | Animalia |
ไฟลัม: | Chordata |
ไฟลัมย่อย: | Vertebrata |
ชั้น: | Reptilia |
อันดับ: | Squamata |
อันดับย่อย: | Serpentes |
วงศ์: | Viperidae |
วงศ์ย่อย: | Crotalinae |
สกุล: | Trimeresurus |
สปีชีส์: | T. kanburiensis |
ชื่อทวินาม | |
Trimeresurus kanburiensis Smith, 1943 | |
ชื่อพ้อง | |
|
งูหางแฮ่มกาญจน์ (อังกฤษ: Kanburi pitviper[2], Kanburian pit viper, Tiger pit viper[3]) เป็นงูที่มีพิษที่มีขนาดใหญ่อยู่ในสกุลเดียวกันกับงูเขียวหางไหม้ วงศ์ย่อยงูหางกระดิ่ง อาศัยในบริเวณที่ชุ่มชื้นและป่าชายเลน พบได้ในประเทศไทย บริเวณเขตจังหวัดกาญจนบุรี ไม่พบในเลย และระนอง[4]
ลักษณะ
[แก้]มีขนาดยาวประมาณ 70 เซนติเมตร (หัว 4.5 ซม. ตัว 54.5 ซม. หาง 11.5 ซม.) ลำตัวสีน้ำตาลไหม้ มีลายสีน้ำตาลเข้มเป็นปื้นใหญ่ๆ บนหลังข้างลำตัวเป็นลายสลับระหว่างสีน้ำตาลเข้มกับสีเหลืองหม่น หัวสีน้ำตาลไหม้ ริมฝีปากบนสีเหลือง ท้องขาวมีลายประสีน้ำตาลออ่น[4] ออกลูกครั้งละ 8-15 ตัว ลูกงูสีจะสดใสกว่า บริเวณลายจะเป็นสีน้ำตาลอมชมพู หรือน้ำตาลอ่อนสลับกับเหลืองอมเขียว
อ้างอิง
[แก้]- ↑ McDiarmid RW, Campbell JA, Touré T. 1999. Snake Species of the World: A Taxonomic and Geographic Reference, vol. 1. Herpetologists' League. 511 pp. ISBN 1-893777-00-6 (series). ISBN 1-893777-01-4 (volume).
- ↑ Gumprecht A, Tillack F, Orlov NL, Captain A, Ryabov S. 2004. Asian Pitvipers. GeitjeBooks Berlin. 1st Edition. 368 pp. ISBN 3-937975-00-4.
- ↑ Mehrtens JM. 1987. Living Snakes of the World in Color. New York: Sterling Publishers. 480 pp. ISBN 0-8069-6460-X.
- ↑ 4.0 4.1 งูหางแฮ่มกาญจน์[ลิงก์เสีย] ศูนย์รวบรวมข้อมูลสิ่งมีชีวิตในประเทศไทย
- David P, Vogel G, Sumontha M, Pauwels OSG, Chanhome L. 2004. Expanded description of the poorly known pitviper Trimeresurus kanburiensis Smith, 1943, with confirmation of the validity of Trimeresurus venustus Vogel, 1991. Russ. J. Herpetol. 11 (2): 81-9.