พร็อกซิมาคนครึ่งม้า

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก Proxima Centauri)
พร็อกซิมาคนครึ่งม้า

ดาวพร็อกซิมาคนครึ่งม้า
ข้อมูลสังเกตการณ์
ต้นยุคอ้างอิง J2000.0      วิษุวัต J2000.0
กลุ่มดาว กลุ่มดาวคนครึ่งม้า
ไรต์แอสเซนชัน 14h 29m 42.9487s[1]
เดคลิเนชัน −62° 40′ 46.141″[1]
ความส่องสว่างปรากฏ (V) 11.05[1]
คุณสมบัติ
ชนิดสเปกตรัมM5.5 Ve[1]
ดัชนีสี U-B1.43[1]
ดัชนีสี B-V1.90[1]
ชนิดดาวแปรแสงดาวเปลว
มาตรดาราศาสตร์
ความเร็วแนวเล็ง (Rv)−21.7 ± 1.8 km/s
การเคลื่อนที่เฉพาะ (μ) RA: −3775.40[1] mas/yr
Dec.: 769.33[1] mas/yr
พารัลแลกซ์ (π)768.7 ± 0.3 mas
ระยะทาง4.243 ± 0.002 ly
(1.3009 ± 0.0005 pc)
ความส่องสว่างสัมบูรณ์ (MV)15.49[2]
รายละเอียด
มวล0.123 ± 0.006[3] M
รัศมี0.145 ± 0.011[3] R
แรงโน้มถ่วงที่พื้นผิว (log g)5.20 ± 0.23[3]
กำลังส่องสว่าง (bolometric)0.0017[4] L
อุณหภูมิ3,042 ± 117[3] K
การหมุนตัว83.5 d[5]
อายุ4.85×109[6] ปี
ชื่ออื่น
ฐานข้อมูลอ้างอิงอื่น
SIMBADdata

พร็อกซิมาคนครึ่งม้า (อังกฤษ: Proxima Centauri) คือดาวแคระแดงในกลุ่มดาวคนครึ่งม้าที่อยู่ห่างจากระบบสุริยะของเราในระยะประมาณ 4.2 ปีแสง ค้นพบโดยโรเบิร์ต อินเนส ผู้อำนวยการหอดูดาวยูเนียนในแอฟริกาใต้เมื่อปี พ.ศ. 2458 ได้ชื่อว่าเป็นดาวฤกษ์ดวงที่อยู่ใกล้ระบบสุริยะมากที่สุดเท่าที่รู้จักกันในปัจจุบัน พร็อกซิมาคนครึ่งม้าอยู่ห่างจากระบบดาวคู่แอลฟาคนครึ่งม้า ซึ่งสว่างกว่าและเป็นดาวที่อยู่ห่างจากโลกเป็นอันดับ 2 และ 3 ประมาณ 0.237 ± 0.011 ปีแสง มีความเป็นไปได้ที่พร็อกซิมาคนครึ่งม้าจะเป็นส่วนหนึ่งในระบบดาวสามดวงร่วมกับแอลฟาคนครึ่งม้า เอ และแอลฟาคนครึ่งม้า บี

ต้นกำเนิดชื่อ[แก้]

พร็อกซิมา (ละติน: proxima) แปลว่าใกล้ที่สุด ซึ่งสอดคล้องกับระยะห่างระหว่างดาวดวงนี้กับเรา

ขนาด[แก้]

ภาพ ๆ นี้แสดงถึงขนาดของดาวต่าง ๆ (จากซ้ายไปขวา) : ดวงอาทิตย์ แอลฟาคนครึ่งม้า เอ แอลฟาคนครึ่งม้า บี และพร็อกซิมาคนครึ่งม้า

อ้างอิง[แก้]

  1. 1.0 1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 1.6 1.7 1.8 "SIMBAD query result: V* V645 Cen -- Flare Star". Centre de Données astronomiques de Strasbourg. สืบค้นเมื่อ 2008-08-11.—some of the data is located under "Measurements".
  2. Kamper, K. W.; Wesselink, A. J. (1978). "Alpha and Proxima Centauri". Astronomical Journal. 83: 1653–1659. doi:10.1086/112378. สืบค้นเมื่อ 2008-08-03.
  3. 3.0 3.1 3.2 3.3 Ségransan, D.; Kervella, P.; Forveille, T.; Queloz, D. (2003). "First radius measurements of very low mass stars with the VLTI". Astronomy and Astrophysics. 397: L5–L8. doi:10.1051/0004-6361:20021714. สืบค้นเมื่อ 2008-08-07.
  4. See Table 1, Doyle, J. G.; Butler, C. J. (1990). "Optical and infrared photometry of dwarf M and K stars". Astronomy and Astrophysics. 235: 335–339. Bibcode:1990A&A...235..335D. and p. 57, Peebles, P. J. E. (1993). Principles of Physical Cosmology. Princeton, New Jersey: Princeton University Press. ISBN 0691019339.
  5. Benedict, G. Fritz; และคณะ (1998). "Photometry of Proxima Centauri and Barnard's Star Using Hubble Space Telescope Fine Guidance Sensor 3: A Search for Periodic Variations". The Astronomical Journal. 116 (1): 429–439. doi:10.1086/300420. สืบค้นเมื่อ 2007-07-09.
  6. Kervella, Pierre; Thevenin, Frederic (2003-03-15). "A Family Portrait of the Alpha Centauri System: VLT Interferometer Studies the Nearest Stars". ESO. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2008-06-16. สืบค้นเมื่อ 2007-07-09.{{cite news}}: CS1 maint: multiple names: authors list (ลิงก์)