อินไซต์

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ยาน อินไซต์
ภาพแรกบนดาวอังคาร ที่ยาน อินไซต์ ส่งข้อมูลกลับมา
InSight

รายชื่อเก่าInterior Exploration using Seismic Investigations, Geodesy and Heat Transport
Geophysical Monitoring Station
Discovery 12
ประเภทภารกิจMars lander
ผู้ดำเนินการNASA / JPL
COSPAR ID2018-042A
SATCAT no.43457
เว็บไซต์Mars.NASA.gov/InSight
ระยะภารกิจPlanned: 709 sols (728 days)[1][2]
Current: 1888 sols (1939 days) since landing
ข้อมูลยานอวกาศ
ผู้ผลิตLockheed Martin Space Systems
มวลขณะส่งยาน694 kg (1,530 lb)[3]
มวลหลังการลงจอด358 kg (789 lb)[3]
ขนาดDeployed: 6.0 × 1.56 × 1.0 m (19.7 × 5.1 × 3.3 ft)[4]-
กำลังไฟฟ้า600 W, solar / Li-ion battery[3]
เริ่มต้นภารกิจ
วันที่ส่งขึ้น5 May 2018, 11:05 (2018-05-05UTC11:05) UTC[5][6]
จรวดนำส่งAtlas V 401[7]
ฐานส่งVandenberg SLC-3E[7]
ผู้ดำเนินงานUnited Launch Alliance
ยานลงจอด Mars
วันที่ลงจอด26 November 2018, 19:52:59 (2018-11-26UTC19:52:59) UTC[2]
ตำแหน่ง]'0vfElysium Planitia[8][9]
4°30′N 135°00′E / 4.5°N 135.0°E / 4.5; 135.0 (InSight landing site)
บินผ่านMars
ส่วนประกอบยานอวกาศMars Cube One (MarCO)
เข้าใกล้สุด26 November 2018, 19:52:59 (2018-11-26UTC19:52:59) UTC[2]
ระยะทาง3,500 km (2,200 mi)[10]
← GRAIL
Lucy →
 

อินไซต์ (อังกฤษ: InSight) คือยานสำรวจภาคพื้นดิน (lander) เพื่อตรวจสอบโครงสร้างภายในของดาวอังคาร[11] ได้รับการปล่อยขึ้นสู่อวกาศเมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม ค.ศ. 2018 เวลา 11:05 น. ตามเวลาสากลเชิงพิกัด[12][13]

เมื่อวันที่ 26 พฤศจิกายน ปีเดียวกัน เวลา 07:54 น. ตามเวลาสากลเชิงพิกัด นาซาได้รับสัญญาณจากยาน อินไซต์ แสดงว่าตัวยานได้ลงจอดบนพื้นผิวดาวอังคารเรียบร้อยแล้ว บริเวณอิลิเซียมแพลนิเชีย (Elysium Planitia) ใกล้กับจุดที่ยาน คิวรีออซิตี้(Curiosity) ลงจอดเมื่อปี พ.ศ. 2555 หลังจากการเดินทางกว่า 483 ล้านกิโลเมตร (300 ล้านไมล์)[5][14] ทั้งนี้ ยาน อินไซต์ จะทำการตรวจสอบโครงสร้างภายในของดาวอังคาร โดยอุปกรณ์ต่าง ๆ เช่น เครื่องตรวจวัดคลื่นแผ่นดินไหว (seismometer) เครื่องตรวจวัดการขยับของขั้วโลกเหนือดาวอังคารระหว่างโคจรรอบดวง อุปกรณ์วัดอุณหภูมิใต้ดิน เป็นต้น[15]

ในช่วงเวลาฤดูหนาวของดาวอังคาร ค.ศ. 2022 เนื่องจากปริมาณแสงอาทิตย์ที่ได้รับมีปริมาณที่น้อยลง ทำให้การสร้างพลังงานจากแผงพลังงานแสงอาทิตย์ต่ำลงไปด้วย ยานอินไซต์จึงเริ่มมีระดับพลังงานที่ลดลงต่ำกว่าปกติ และปัญหาจากฝุ่นที่เกาะบนแผงเซลล์แสงอาทิตย์อีกด้วย ในเดือนกรกฎาคม ค.ศ. 2022 นาซาจึงจำเป็นที่จะต้องปิดระบบการทำงานเกือบทุกระบบ โดยยังคงเปิดระบบตรวจจับเหตุการณ์แผ่นดินไหวไว้

เมื่อวันที่ 20 ธันวาคม ค.ศ. 2022 นาซาได้ประกาศว่ายานอินไซต์ได้ขาดการติดต่อตั้งแต่วันที่ 15 ธันวาคม ค.ศ. 2022 และในวันที่ 22 ธันวาคม ค.ศ. 2022 นาซาได้ประกาศสิ้นสุดภารกิจอย่างเป็นทางการ[16]

อ้างอิง[แก้]

  1. "InSight Mission Overview". NASA. 2012. สืบค้นเมื่อ 26 November 2018.
  2. 2.0 2.1 2.2 "Key Facts About NASA's InSight". NASA. 2012. สืบค้นเมื่อ 26 November 2018.
  3. 3.0 3.1 3.2 "Mars InSight Launch Press Kit" (PDF). NASA/JPL. May 2018. สืบค้นเมื่อ 12 December 2018.
  4. "InSight Lithograph" (PDF). NASA. July 2015. LG-2015-07-072-HQ. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2017-02-09. สืบค้นเมื่อ 2019-03-02.
  5. 5.0 5.1 Chang, Kenneth (5 May 2018). "NASA's InSight Launches for Six-Month Journey to Mars". The New York Times. สืบค้นเมื่อ 5 May 2018.
  6. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ sfnow20160309
  7. 7.0 7.1 Clark, Stephen (19 December 2013). "Mars lander to launch from California on Atlas 5 in 2016". Spaceflight Now. สืบค้นเมื่อ 20 December 2013.
  8. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ landing
  9. "Single Site on Mars Advanced for 2016 NASA Lander". NASA. 4 March 2015. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-12-22. สืบค้นเมื่อ 16 December 2015.
  10. MarCO: Planetary CubeSats Become Real. Van Kane, The Planetary Society. 8 July 2015.
  11. Chang, Kenneth (30 April 2018). "Mars InSight: NASA's Journey Into the Red Planet's Deepest Mysteries". The New York Times. สืบค้นเมื่อ 30 April 2018.
  12. Agle, D.C.; Good, Andrew; Brown, Dwayne; Wendel, JoAnna (5 May 2018). "NASA, ULA Launch Mission to Study How Mars Was Made". สืบค้นเมื่อ 5 May 2018.
  13. Chang, Kenneth (26 November 2018). "NASA's Mars InSight Landing: Back to the Red Planet Once Again - The NASA spacecraft will arrive at the red planet today and attempt to reach its surface in one piece". The New York Times. สืบค้นเมื่อ 26 November 2018.
  14. "About InSight's Launch". NASA. สืบค้นเมื่อ 8 February 2018.
  15. "What are InSight's Science Tools?". NASA. สืบค้นเมื่อ 8 February 2018.[ลิงก์เสีย]
  16. Dodson, Gerelle (2022-12-21). "NASA Retires InSight Mars Lander Mission After Years of Science". NASA. สืบค้นเมื่อ 7 September 2023.