จันทรยาน-3

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จันทรยาน-3
มอดุลอินทิเกรต (Integrated Module) ของจันทรยาน-3 ในคลีนรูม
ประเภทภารกิจ
ผู้ดำเนินการISRO
COSPAR ID2023-098A
SATCAT no.57320แก้ไขบนวิกิสนเทศ
เว็บไซต์www.isro.gov.in/Chandrayaan3.html
ระยะภารกิจ14 กรกฎาคม 2023 (ผ่านมาแล้ว)
  • มอดุลแรงขับ: ≤ 3 ถึง 6 เดือน (ตามแผน) 5 สิงหาคม 2023 (ผ่านมาแล้ว) (นับตั้งแต่เข้าสู่วงโคตร)
  • วิกรม แลนเดอร์: ≤ 14 วัน (ตามแผน) 23 สิงหาคม 2023 (ผ่านมาแล้ว) (นับตั้งแต่ลงจอด)
  • ปรัชญาน โรวเอร์: ≤ 14 วัน (ตามแผน) 23 สิงหาคม 2023 (ผ่านมาแล้ว) (นับตั้งแต่ปล่อย)
ข้อมูลยานอวกาศ
Busจันทรยาน
ผู้ผลิตISRO
มวลขณะส่งยาน3,900 กก.[1]
มวลบรรทุกมอดูลแรงขับ: 2,148 กก.
มอดูลแลนเดอร์ (วิกรม): 1,726 กก.
โรเวอร์ (ปรัชญาน) 26 กก.
รวม: 3,900 กก.
กำลังไฟฟ้ามอดูลแรงขับ: 758 วัตต์
มอดูลแลนเดอร์: 738 วัตต์
(WS รวมไบแอส) โรเวอร์: 50 วัตต์
เริ่มต้นภารกิจ
วันที่ส่งขึ้น14 กรกฎาคม 2023 09:05:17 UTC[2]
จรวดนำส่งLVM3 M4
ฐานส่งศูนย์อวกาศสตีษ ธวัน
ผู้ดำเนินงานISRO
ยานอวกาศโคจรรอบ ดวงจันทร์
แทรกวงโคจร5 สิงหาคม 2023
ลักษณะวงโคจร
จุดใกล้ที่สุด153 กม. (95 ไมล์)
จุดไกลที่สุด163 กม. (101 ไมล์)
 

จันทรยาน-3 (อักษรโรมัน: Chandrayaan-3, แปลว่า ยานดวงจันทร์, ภาษาสันสกฤต: [t͡ʃən̪d̪rəjaːn̪] ( ฟังเสียง))[3] เป็นปฏิบัติการสำรวจดวงจันทร์ลำดับที่สามของประเทศอินเดีย ภายใต้องค์การค้นคว้าอวกาศอินเดีย (ISRO) ในโครงการจันทรยาน[3] จันทรยานประกอบด้วยแลนเดอร์ (lander) ชื่อว่า วิกรม (Vikram) และโรเวอร์ (rover) ชื่อ ปรัชญาน คล้ายกันกับของภารกิจจันทรยาน-2 มอดูลแรงขับดัน (propulsion module) พาตัวแลนเดอร์และโรเวอร์เข้าสู่วงโคจรของดวงจันทร์เพื่อเตรียมการสำหรับการลงจอดของแลนเดอร์[4][5]

จันทรยาน-3 ปล่อยเมื่อ 14 กรกฎาคม 2023 และเข้าสู่วงโคจรดวงจันทร์เมื่อ 5 สิงหาคม โดยแลนเดอร์ลงจอดที่บริเวณขั้วใต้ดวงจันทร์[6] เมื่อ 23 สิงหาคม 2023 เวลา 12:32 UTC ทำให้ประเทศอินเดียเป็นชาติที่สี่ในโลกที่ลงจอดบนดวงจันทร์สำเร็จ และเป็นการลงจอดครั้งแรกใกล้กับขั้วใต้ดวงจันทร์[7][8][9]

อ้างอิง[แก้]

  1. "Chandrayaan-3 vs Russia's Luna-25 | Which one is likely to win the space race". cnbctv18.com. 14 สิงหาคม 2023. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 16 สิงหาคม 2023. สืบค้นเมื่อ 16 สิงหาคม 2023.
  2. "Chandrayaan-3". www.isro.gov.in. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 10 กรกฎาคม 2023. สืบค้นเมื่อ 14 กรกฎาคม 2023.
  3. 3.0 3.1 "Chandrayaan-3 just 1k-km from lunar surface". The Times of India. 11 August 2023. ISSN 0971-8257. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 12 August 2023. สืบค้นเมื่อ 12 August 2023.
  4. "Chandrayaan-3 to cost Rs 615 crore, launch could stretch to 2021". The Times of India. 2 January 2020. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 19 November 2021. สืบค้นเมื่อ 3 January 2020.
  5. "NASA – NSSDCA – Spacecraft – Details". เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 8 June 2022. สืบค้นเมื่อ 10 June 2022.
  6. Sharmila Kuthunur (23 สิงหาคม 2023). "India on the moon! Chandrayaan-3 becomes 1st probe to land near lunar south pole". Space.com (ภาษาอังกฤษ). เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 23 สิงหาคม 2023. สืบค้นเมื่อ 23 สิงหาคม 2023.
  7. Kumar, Sanjay (23 August 2023). "India makes history by landing spacecraft near Moon's south pole". Science.org. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 24 August 2023. สืบค้นเมื่อ 24 August 2023.
  8. "Chandrayaan-3 launch on 14 July, lunar landing on 23 or 24 August". The Hindu (ภาษาอังกฤษ). 6 กรกฎาคม 2023. ISSN 0971-751X. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 11 กรกฎาคม 2023. สืบค้นเมื่อ 14 กรกฎาคม 2023.
  9. "India lands spacecraft near south pole of moon in historic first". The Guardian (ภาษาอังกฤษ). เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 23 August 2023. สืบค้นเมื่อ 23 August 2023.