ข้ามไปเนื้อหา

สถาปัตยกรรมยานยนต์ใหม่ของโตโยต้า

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
สถาปัตยกรรมยานยนต์ใหม่ของโตโยต้า "TNGA"
โตโยต้า พรีอุส, รถรุ่นแรกที่ใช้โครงสร้างสถาปัตยกรรมยานยนต์ใหม่ของโตโยต้า
ภาพรวม
บริษัทผู้ผลิตโตโยต้า
เริ่มผลิตเมื่อพ.ศ. 2558–ปัจจุบัน
ตัวถังและช่วงล่าง
แพลตฟอร์ม
  • TNGA-B
  • TNGA-C
  • TNGA-F
  • TNGA-K
  • TNGA-L
  • e-TNGA (รถยนต์ไฟฟ้า)
ระยะเหตุการณ์
รุ่นก่อนหน้า

Toyota New Global Architecture (TNGA) เป็นแพลทฟอร์มแบบ Unibody ที่ใช้ในรถยนต์โตโยต้าและเล็กซัส ซึ่งเริ่มใช้ครั้งแรกในโตโยต้า พริอุสโฉมที่ 4 เมื่อปลายปี พ.ศ. 2558[1] แพลทฟอร์ม TNGA นั้น สามารถใช้หรือรองรับรถยนต์ที่มีขนาดแตกต่างกันได้ และยังใช้ได้กับรถยนต์ที่มีทั้งระบบขับเคลื่อนล้อหน้า ระบบขับเคลื่อนล้อหลัง และระบบขับเคลื่อนสี่ล้อได้ด้วย[2]

การประยุกต์ใช้งาน

[แก้]

TNGA-B (GA-B)

[แก้]

รุ่นปี :

TNGA-C (GA-C)

[แก้]

รุ่นปี :

TNGA-F (GA-F)

[แก้]

รุ่นปี :

TNGA-K (GA-K)

[แก้]

รุ่นปี :

ิ* 2566–ปัจจุบัน โตโยต้า แกรนด์ ไฮแลนเดอร์ (AS10)

TNGA-L (GA-L)

[แก้]

แทนที่จาก N Platform GA-L นั้นย่อมาจาก Global Architecture for Luxury vehicles ซึ่งได้ใช้ในรถยนต์เล็กซัส, รถขนาดใหญ่, รถสปอร์ต และ รถยนต์ที่รองรับระบบขับเคลื่อนล้อหลัง (รวมถึงขับเคลื่อน 4 ล้อ ด้วย)

รุ่นปี :

e-TNGA

[แก้]

ก่อนหน้านี้ Toyota เพิ่งประกาศจับมือ Subaru ในการพัฒนาแพลทฟอร์มรถพลังงานไฟฟ้าร่วมกัน พร้อมกับประกาศว่าจะ “เดินหน้าเร่งเต็มสูบ” ในการสร้างรถยนต์พลังงานไฟฟ้าเพื่อให้ทันกับการเติบโตของตลาดที่ “ก้าวกระโดด” เกินความคาดหมาย

แพลทฟอร์มใหม่ของ Toyota มีชื่อว่า e-TNGA ซึ่งรองรับทุกระบบขับเคลื่อนทั้งขับเคลื่อนล้อหน้า ขับเคลื่อนล้อหลัง และขับเคลื่อน 4 ล้อ ตำแหน่งการติดตั้งมอเตอร์จะมีความยืดหยุ่นสูงมาก โดยสามารถติดตั้งได้ทั้งด้านหน้าและด้านหลังของตัวรถ

รุ่นปี :

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. Stocklosa, Alexander (27 March 2015). "Cowa-TNGA! Toyota's New Modular Platform Reaching Production This Year". Car and Driver. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-06-03. สืบค้นเมื่อ 5 August 2016.
  2. Akita, Masahiro (11 March 2013). "Opportunities and risks related to parts sourcing for next-gen Prius". Credit Suisse. pp. 1–3. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 17 July 2014.
  3. Ogbac, Stefan (8 March 2016). "Report: Toyota C-HR moved to TNGA platform midway through development". Motor Trend. สืบค้นเมื่อ 14 March 2016.
  4. Dowling, Neil (8 March 2016). "Driven: Reset for Toyota's Prius hybrid king". GoAuto. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-03-14. สืบค้นเมื่อ 14 March 2016.
  5. Booth, David (10 January 2017). "Toyota Camry redesigned for 2018 – and it actually looks good". Driving. สืบค้นเมื่อ 10 January 2017.
  6. 6.0 6.1 "New Lexus LS Flagship Sedan to Make Global Debut at the 2017 NAIAS" (Press release). US: Toyota. 8 December 2016. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-01-04. สืบค้นเมื่อ 22 December 2016.
  7. "Toyota Debuts All-Electric SUV Concept" (Press release). US: Toyota. 2021-04-19. สืบค้นเมื่อ 2021-04-25.
  8. Bruce, Chris (2021-12-14). "Lexus RZ 450e Design Unveiled As The Posh Toyota bZ4X Alternative". Motor1.com (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2021-12-15.{{cite web}}: CS1 maint: url-status (ลิงก์)

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]