สงครามโครแอต-บอสนีแอก

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
สงครามโครแอต-บอสนีแอก
ส่วนหนึ่งของ สงครามยูโกสลาเวีย, สงครามบอสเนีย , สงครามประกาศเอกราชโครเอเชีย
Croat–Bosniak War collage.jpg
วันที่19 มิถุนายน 1992 – 23 กุมภาพันธ์ 1994
สถานที่บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา, โครเอเชีย
ผล สาธารณรัฐโครเอเชียแห่งเฮิร์ตเซก-บอสเนียล่มสลาย , โครเอเชีย สงบศึกกับบอสเนีย
คู่สงคราม

Flag of Bosnia and Herzegovina (1992–1998).svgสาธารณรัฐบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา

กองกำลังป้องกันตนเองชาวโครแอตบอสเนีย สนับสนุน
ฝรั่งเศสสหประชาชาติ ฝรั่งเศส
ตุรกีสหประชาชาติ ตุรกี


ปากีสถาน ปากีสถาน
Flag of the Croatian Republic of Herzeg-Bosnia.svg สาธารณรัฐโครเอเชียแห่งเฮิร์ตเซก-บอสเนีย
โครเอเชีย สาธารณรัฐโครเอเชีย
ผู้บังคับบัญชาและผู้นำ
บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา อาลียา อีเซตเบกอวิช
บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา อารีฟ ปาชาลิช
บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา เซเฟร์ ฮาลีลอวิช
บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา ราชิม เดลิช
บลัช กรัลเยวิช 
Flag of Jihad.svgAbdelkader Mokhtari
7th Muslim Brigade.pngMahmut Karalić
7th Muslim Brigade.pngAsim Koričić

Flag of the Croatian Republic of Herzeg-Bosnia.svg มาเต บอบัน
(ประธานาธิบดีแห่ง สาธารณรัฐโครเอเชียแห่งเฮิร์ตเซก-บอสเนีย)

โครเอเชีย ฟรานโย ตุดมัน
(ประธานาธิบดีแห่ง โครเอเชีย)

สงครามโครแอต-บอสนีแอก เป็นสงครามระหว่างชาวบอสเนียกับชาวโครแอต ซึ่งเกิดทั้งในภูมิภาคบอสเนียกลาง เฮอร์เซโกวีนา และในเขตประเทศโครเอเชีย มูลเหตุสงครามมาจากในปี1991 โครเอเชียได้ประกาศเอกราชจาก ยูโกสลาเวีย แต่ก็แยกไปเฉพาะชาวโครแอตในโครเอเชีย ทำให้ชาวโครแอตในบอสเนียจึงได้ก่อตั้ง สาธารณรัฐโครเอเชียแห่งเฮิร์ตเซก-บอสเนีย เพื่อประกาศเอกราชจาก สาธารณรัฐบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา ซึ่งกำลังทำสงครามกับกลุ่มชาตินิยมชาวเซิร์บอยู่ ซึ่งถ้าเปิดศึกกับชาวโครแอตก็จะกลายเป็นสงครามสองฝ่าย แต่ด้วยรัฐบาลบอสเนียไม่ยอมรับให้โครเอเชียยึดดินแดนอีกต่อไป กองทัพบอสเนียจึงเคลื่อนพลบุกฐานที่มั่นกองกำลังโครแอต ซึ่งมีทั้งชาวโครแอตบอสเนียและชาวโครเอเชียประจำอยู่ในกองกำลัง บอสเนียได้เปิดศึกกับโครเอเชียด้วย ในพรมแดนโครแอต-บอสเนีย ทั่วประเทศบอสเนีย

สงครามโครแอต-บอสนีแอกยังถูกระบุว่าเป็นสงครามที่มีอาชญกรรมสงคราม โดยทหารชาวโครแอต ซึ่งได้ทำการสังหารหมู่ชาวบอสเนียในภูมิภาคบอสเนียกลาง ในช่วงเมษายน 1993 มีผู้เสียชีวิต ประมาณ 2,000 คน โดยทั้งหมดเป็นชาวมุสลิมบอสเนีย กองทัพบอสเนียได้ร้องขอให้ สหประชาชาติส่งกำลังมา ซึ่งสหประชาชาติส่งกำลังทางทหารเข้ามา สหประชาชาติได้จับกุมผู้กอ่อาชญกรรมชาวโครแอต และกำหนดให้ สาธารณรัฐโครเอเชียแห่งเฮิร์ตเซก-บอสเนีย ถูกยุบและไปรวมกับบอสเนีย ขณะเดียวกันสหประชาชาติยังได้ให้บอสเนียและโครเอเชียสงบศึกกัน และ ร่วมกันทำสงครามกับกลุ่มชาตินิยมชาวเซิร์บทั้งในบอสเนียและโครเอเชีย ปี1995 กองทัพบอสเนียได้เคลือนพลเข้าโครเอเชียเพื่อช่วยโครเอเชียปราบปรามกลุ่มชาตินิยมชาวเซิร์บ

ผลลัพธ์ของสงครามเกิดอาชญกรรมสงครามากมาย และ มีการจัดตั้งสนธิสัญญาวอชินัตนระหว่างรัฐบาลบอสเนียและรัฐบาลโครเอเชีย รัฐบาลบอสเนียสถาปนาสหพันธรัฐบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนาขึ้นเพื่อเป็นดินแดนของชาวโครแอตและชาวมุสลิมบอสเนีย มีสิทธิและเสรีภาพเท่าเทียมกัน

ข้อมูลเพิ่มเติม[แก้]

อ้างอิง[แก้]

หนังสือ[แก้]

  • Lukic, Rénéo; Lynch, Allen (1996). Europe From the Balkans to the Urals: The Disintegration of Yugoslavia and the Soviet Union. Oxford University Press. ISBN 0-19-829200-7.
  • Magaš, Branka; Žanić, Ivo (2001). The War in Croatia and Bosnia-Herzegovina 1991–1995. Taylor & Francis. ISBN 0-7146-5204-0.
  • Ramet, Sabrina P. (2002). Balkan Babel: The Disintegration of Yugoslavia from the Death of Tito to the Fall of Milošević. Westview Press. ISBN 0-8133-3987-1.
  • Ramet, Sabrina P. (2006). The Three Yugoslavias: State-Building and Legitimation, 1918–2004. Indiana University Press. ISBN 0-271-01629-9.
  • Central Intelligence Agency, Office of Russian and European Analysis (2002). Balkan Battlegrounds: A Military History of the Yugoslav Conflict, 1990–1995, Volume 1. Washington, D.C.: Central Intelligence Agency. ISBN 978-0-16-066472-4.
  • Central Intelligence Agency, Office of Russian and European Analysis (2002). Balkan Battlegrounds: A Military History of the Yugoslav Conflict, 1990–1995, Volume 2. Washington, D.C.: Central Intelligence Agency. ISBN 978-0-16-066472-4.
  • Tanner, Marcus (2001). Croatia: a nation forged in war (2nd ed.). New Haven; London: Yale University Press. ISBN 0-300-09125-7.

เว็บ[แก้]