ความตกลงเดย์ตัน

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ความตกลงเดย์ตัน
ร่างความตกลงทั่วไปเพื่อสันติภาพในบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา
นั่งจากซ้ายไปขวา: สลอบอดัน มีลอเชวิช, อาลียา อีเซตเบกอวิช, ฟรานโย ตุชมาน ร่วมลงนามในความตกลงสันติภาพเดย์ตันที่ฐานทัพอากาศไรท์-แพตเตอร์สัน เมื่อวันที่ 21 พฤศจิกายน 1995
วันร่าง10 สิงหาคม ค.ศ. 1995 (1995-08-10)
วันลงนาม14 ธันวาคม ค.ศ. 1995 (1995-12-14)[1]
ที่ลงนามฐานทัพอากาศไรท์-แพตเตอร์สัน, เดย์ตัน, รัฐโอไฮโอ, สหรัฐ
ผู้ลงนาม
ภาคี
ภาษาภาษาอังกฤษ

ร่างความตกลงทั่วไปเพื่อสันติภาพในบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา หรือที่เรียกว่า ความตกลงเดย์ตัน หรือ ข้อตกลงเดย์ตัน (โครเอเชีย: Daytonski sporazum,[3] บอสเนีย: Dejtonski sporazum และ เซอร์เบีย: Dejtonski mirovni sporazum) เป็นความตกลงสันติภาพที่ทำขึ้นที่ฐานทัพอากาศไรท์-แพตเตอร์สัน ใกล้เมืองเดย์ตัน รัฐโอไฮโอ สหรัฐ โดยบรรลุความตกลงเมื่อวันที่ 21 พฤศจิกายน 1995[4] และลงนามอย่างเป็นทางการในปารีส เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม 1995 ความตกลงเหล่านี้ยุติสงครามบอสเนียที่กินเวลานานสามปีครึ่ง ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของสงครามยูโกสลาเวีย

ฝ่ายที่ทำสงครามตกลงที่จะสงบศึกและตกลงกับรัฐอธิปไตยที่รู้จักกันในชื่อบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนาที่ประกอบด้วยรัฐองค์ประกอบสองส่วนคือ เรปูบลิกาเซิร์ปสกา ที่มีประชากรส่วนใหญ่เป็นชาวเซิร์บ และสหพันธรัฐบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนาซึ่งมีประชากรเป็นชาวโครแอตและชาวบอสนีแอกเป็นส่วนใหญ่

ความตกลงดังกล่าวถูกวิพากษ์วิจารณ์ว่าเป็นการสร้างโครงสร้างทางการเมืองที่ไม่มีประสิทธิภาพและเทอะทะและขัดขวางการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ในสงครามครั้งก่อน[5][6]

อ้างอิง[แก้]

  1. "15 years ago, Dayton Peace Accords: a milestone for NATO and the Balkans". NATO. 14 December 2010. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 17 February 2020. สืบค้นเมื่อ 18 July 2015.
  2. "Summary of the Dayton Peace Agreement on Bosnia-Herzegovina". www1.umn.edu. 30 November 1995. สืบค้นเมื่อ 16 January 2016.
  3. "Daytonski sporazum | Hrvatska enciklopedija". enciklopedija.hr. สืบค้นเมื่อ 2022-10-16.
  4. "Dayton Peace Accords on Bosnia". US Department of State. 30 March 1996. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 22 May 2011. สืบค้นเมื่อ 19 March 2006.
  5. Levene, Mark (2000). "The Limits of Tolerance: Nation–State Building and What It Means for Minority Groups". Patterns of Prejudice. 34 (2): 19–40. doi:10.1080/00313220008559138. S2CID 144296663. Consider, instead, one contemporary parallel, Bosnia: the degree to which the international community via the Owen-Vance plan, or even the later Dayton accord, actively promoted or endorsed the destruction of a multi-ethnic society; the degree to which it helped to facilitate the creation of a greater Serbia or an enlarged Croatia; the degree to which it was, at the very least, an accessory after the fact to both 'ethnic cleansing' and sub-genocide.
  6. Malik, John (2000). "The Dayton Agreement and Elections in Bosnia: Entrenching Ethnic Cleansing through Democracy". Stanford Journal of International Law. 36: 303.