เขาเอเวอเรสต์

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก ยอดเขาเอเวอเรสต์)
เขาเอเวอเรสต์
  • सगरमाथा (สครมาถา)
  • ཇོ་མོ་གླང་མ (Chomolungma)
  • 珠穆朗玛峰 (จูมู่หลั่งหม่าเฟง)
เอเวอเรสต์มองจากกาลาปัตถาร์ ประเทศเนปาล
จุดสูงสุด
ความสูง
เหนือระดับน้ำทะเล
 8,848.86 m (29,031.7 ft)[1]
อันดับ 1
ความสูง
ส่วนยื่นจากฐาน
 8,848.86 m (29,031.7 ft)
อันดับ 1
(อ่านเพิ่ม)
ระยะถึงภูเขา
ถัดไปที่สูงกว่า
ไม่ปรากฏ
รายชื่อยอดเขาทั้งเจ็ด
Eight-thousander
จุดสูงสุดของประเทศ
สูงพิเศษ
พิกัด27°59′17″N 86°55′31″E / 27.98806°N 86.92528°E / 27.98806; 86.92528พิกัดภูมิศาสตร์: 27°59′17″N 86°55′31″E / 27.98806°N 86.92528°E / 27.98806; 86.92528[2]
ข้อมูลทางภูมิศาสตร์
เอเวอเรสต์ตั้งอยู่ในประเทศเนปาล
เอเวอเรสต์
เอเวอเรสต์
เอเวอเรสต์ (ประเทศเนปาล)
เอเวอเรสต์ตั้งอยู่ในประเทศทิเบต
เอเวอเรสต์
เอเวอเรสต์
เอเวอเรสต์ (ประเทศทิเบต)
เอเวอเรสต์ตั้งอยู่ในประเทศจีน
เอเวอเรสต์
เอเวอเรสต์
เอเวอเรสต์ (ประเทศจีน)
เอเวอเรสต์ตั้งอยู่ในทวีปเอเชีย
เอเวอเรสต์
เอเวอเรสต์
เอเวอเรสต์ (ทวีปเอเชีย)
ประเทศเนปาล และ จีน
เทือกเขามหาลังคูร์หิมัล หิมาลัย
การพิชิต
พิชิตครั้งแรก29 พฤษภาคม 1953
เอ็ดมันด์ ฮิลลารี และเทนจิง นอร์กาย
เส้นทางปกติสันตะวันออกเฉียงใต้ (เนปาล)

เอเวอเรสต์ (อังกฤษ: Everest; เนปาล: सगरमाथा, สครมาถา; ทิเบต: ཇོ་མོ་གླང་མ; จีน: 珠穆朗玛 จูมู่หลั่งหม่า) เป็นภูเขาที่สูงที่สุดในโลกที่อยู่เหนือระดับน้ำทะเล ตั้งอยู่ในหุบเขาย่อยมหาลังกูร์หิมัลในเทือกเขาหิมาลัย จุดสูงสุดของเขาเอเวอเรสต์อยู่บนพรมแดนจีน-เนปาล[5] ปัจจุบันเอเวอเรสต์เป็นสถานที่ท่องเที่ยวสำคัญหนึ่งของเนปาลและทิเบต มีผู้คนหลั่งไหลเข้ามาปีนเขาจำนวนมาก และ ข้อมูลเมื่อ 2019 มีมากกว่า 300 คนเสียชีวิตบนเขาเอเวอเรสต์[6] และร่างผู้เสียชีวิตจำนวนมากถูกทิ้งไว้บนเขา[7]

ดูเพิ่ม[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. Based on the 1999 and 2005 surveys of elevation of snow cap, not rock head. For more details, see Surveys.
  2. The WGS84 coordinates given here were calculated using detailed topographic mapping and are in agreement with adventurestats เก็บถาวร 2014-01-08 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน. They are unlikely to be in error by more than 2". Coordinates showing Everest to be more than a minute further east that appeared on this page until recently, and still appear in Wikipedia in several other languages, are incorrect.
  3. Geography of Nepal: Physical, Economic, Cultural & Regional By Netra Bahadur Thapa, D.P. Thapa Orient Longmans, 1969
  4. The position of the summit of Everest on the international border is clearly shown on detailed topographic mapping, including official Nepali mapping.
  5. Bishart, Andrew (4 May 2016). "China's New Road May Clear a Path for More Everest Climbers". National Geographic.
  6. Meritt, Chris. "Mount Everest Deaths Statistics by Year (1922-2019)". climbinggearlab.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-09-20. สืบค้นเมื่อ 2021-05-01.
  7. Nuwer, Rachel. "Death in the clouds: The problem with Everest's 200+ bodies". BBC Future.