มูลนิธิลินุกซ์

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
มูลนิธิลินุกซ์
ก่อนหน้า
ก่อตั้ง2000; 24 ปีที่แล้ว (2000)
ประเภทองค์กรประเภท 501(c)(6)
วัตถุประสงค์Build sustainable ecosystems around open source projects to accelerate technology development and commercial adoption.
ที่ตั้ง
สมาชิก
สมาชิกองค์กรมากกว่า 1,000 องค์กร
บุคลากรหลัก
บุคคลสำคัญ
  • Linus Torvalds
  • Jim Zemlin
  • Mike Woster
  • Mike Dolan
  • Karen Copenhaver
  • Abby Kearns
  • Arpit Joshipura
  • Brian Behlendorf
  • Andy Updegrove
  • Angela Brown
  • Chris Aniszczyk
  • Heather Kirksey
  • Kate Stewart
  • Dan Cauchy
  • Noriaki Fukuyasu
  • Clyde Seepersad
  • Dan Kohn
  • Calista Redmond
  • Robin Ginn
  • Shubhra Kar
ลูกจ้าง
150
เว็บไซต์www.linuxfoundation.org

มูลนิธิลินุกซ์ (อังกฤษ: Linux Foundation - LF) เป็นองค์กรไม่แสวงผลกำไรโดยทำการดูแล ระบบปฏิบัติการลินุกซ์

มูลนิธิลินุกซ์ เริ่มต้นใน พ.ศ. 2543 ภายใต้องค์กรไม่แสวงหาผลกำไร Open Source Development Labs (OSDL) และกลายเป็นองค์กรเมื่อ Open Source Development Labs ถูกรวมเข้ากับ Free Standards Group (FSG) มูลนิธิลินุกซ์ถูกเริ่มขึ้นด้วย ลินุส โตร์วัลดส์ ผู้สร้างลินุกซ์ โดยมีหัวหน้าด้านการบำรุงรักษาคือ Greg Kroah-Hartman และสนับสนุนโดยนักพัฒนาจากทั่วโลกและบริษัทชั้นนำจากทั่วโลก อย่าง AT&T, Cisco, Facebook,[1] Fujitsu, Google, Hitachi, Huawei, IBM, Intel, Microsoft,[2] NEC, Oracle, Orange S.A., Qualcomm, Samsung,[3] Tencent, และ VMware มูลนิธิลินุกซ์ได้ส่งเสริม คุ้มครอง โดยความก้าวหน้า การพัฒนา สนับสนุนร่วมกันทำให้ลีนุกซ์ กลายเป็นประวัติศาสตร์ในการแบ่งทรัพยากรเทคโนโลยีที่เยี่ยมที่สุด

เป้าหมาย[แก้]

มูลนิธิลินุกซ์ทุ่มเทให้กับการสร้างระบบนิเวศที่ยั่งยืนรอบโครงการโอเพ่นซอร์สเพื่อเร่งการพัฒนาเทคโนโลยีและการนำไปใช้ในเชิงพาณิชย์ ปัจจุบันมูลนิธิสนับสนุนงานของผู้สร้างลินุกซ์ Linus Torvalds และผู้ดูแลหลัก Greg Kroah-Hartman และมีเป้าหมายเพื่อเป็นบ้านที่เป็นกลางสำหรับการพัฒนาเคอร์เนลลินุกซ์ที่สามารถป้องกันและเร่งความเร็วได้[4]

อ้างอิง[แก้]

  1. Than 1, More; Members, 000; Software, Is the World’s Leading Home for Collaboration on Open Source; St, Open; ards; Data, Open; Linux, open hardware Linux Foundation’s projects are critical to the world’s infrastructure including; Kubernetes; Node.js (2020-08-13). "Facebook's Long History of Open Source Investments Deepens with Platinum-level Linux Foundation Membership". The Linux Foundation (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). สืบค้นเมื่อ 2020-08-13.{{cite web}}: CS1 maint: numeric names: authors list (ลิงก์)
  2. "Microsoft—yes, Microsoft—joins the Linux Foundation". 2016-11-16. สืบค้นเมื่อ 22 June 2017.
  3. Latif, Lawrence (2012-06-06). "Samsung takes a seat with Intel and IBM at the Linux Foundation". The Inquirer. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ June 7, 2012. สืบค้นเมื่อ 2013-11-13.{{cite web}}: CS1 maint: unfit URL (ลิงก์)
  4. Prakash, Abhishek. "Linus Torvalds: 20 Facts About the Creator of Linux". itsfoss.com (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). สืบค้นเมื่อ 2020-10-19.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]