อาสนวิหารปีเตอร์บะระ
อาสนวิหารปีเตอร์บะระ | |
---|---|
คริสตจักรอาสนวิหารเซนต์ปีเตอร์, เซนต์พอล และเซนต์แอนดรูว์ | |
52°34′21″N 0°14′20″W / 52.5725°N 0.238889°W | |
ที่ตั้ง | ปีเตอร์บะระ เคมบริดจ์เชอร์ |
ประเทศ | อังกฤษ |
นิกาย | คริสตจักรแห่งอังกฤษ |
นิกายเดิม | โรมันคาทอลิก |
เว็บไซต์ | อาสนวิหารปีเตอร์บะระ |
ประวัติ | |
อุทิศแก่ | นักบุญเปโตร, นักบุญเปาโล, นักบุญอันดรูว์ |
เสกเมื่อ | 1238 |
สถาปัตยกรรม | |
รูปแบบสถาปัตย์ | โรมาเนสก์/กอทิก |
ปีสร้าง | 1118–1237 |
โครงสร้าง | |
เนฟยาว | 147 เมตร |
ความสูงอาคาร | 44 เมตร |
จำนวนหอคอย | 4 |
จำนวนยอดแหลม | 2 |
การปกครอง | |
มุขมณฑล | ปีเตอร์บะระ (ตั้งแต่ 1542) |
แขวง | แคนเทอร์เบอรี |
นักบวช | |
มุขนายก | Donald Allister |
เจ้าคณะ | Chris Dalliston |
รองเจ้าคณะ | Tim Alban Jones (รองดีน) |
ผู้นำสวด | Rowan C. Williams |
Canon(s) | ว่างหนึ่งตำแหน่ง |
Canon Missioner | Steve Benoy (แต่งตั้ง) |
ฆราวาส | |
ผู้อำนวยการเพลง | Tansy Castledine |
นักออร์แกน | David Humphreys (Assistant Director of Music) Adam Wilson (Organ Scholar) |
อาสนวิหารปีเตอร์บะระ (อังกฤษ: Peterborough Cathedral มีชื่อเต็มว่า คริสตจักรอาสนวิหารเซนต์ปีเตอร์, เซนต์พอล และเซนต์แอนดรูว์ (Cathedral Church of St Peter, St Paul and St Andrew)[1] เป็นอาสนวิหารของคริสตจักรแห่งอังกฤษ สร้างอุทิศนักบุญซีโมนเปโตร นักบุญเปาโลอัครทูต และนักบุญอันดรูว์ ที่มีรูปปั้นอยู่บนจั่วสามจั่วด้านหน้าของอาสนวิหาร[2] เป็นโบสถ์แม่ประจำมุขฆมณฑลปีเตอร์บะระในภาคแคนเทอร์เบอรีที่ตั้งอยู่ที่เมืองปีเตอร์บะระ ประเทศอังกฤษ สถาปัตยกรรมที่เห็นอยู่ในปัจจุบันเป็นแบบโรมาเนสก์ และกอทิก อาสนวิหารปีเตอร์บะระห์เดิมก่อตั้งขึ้นในสมัยแซ็กซอนสถาปัตยกรรมส่วนใหญ่เป็นแบบนอร์มันหลังจากการก่อสร้างใหม่ในคริสต์ศตวรรษที่ 12 ปีเตอร์บะระห์ก็เช่นเดียวกับอาสนวิหารเดอรัมและอาสนวิหารอีลี ที่เป็นสิ่งก่อสร้างจากคริสต์ศตวรรษที่ 12 ในอังกฤษที่ไม่ได้รับการเปลี่ยนแปลงทางสถาปัตยกรรมมากนักแม้ว่าจะได้รับการขยายต่อเติมและการบูรณปฏิสังขรณ์ต่อมาหลายครั้งก็ตาม
อาสนวิหารปีเตอร์บะระห์มีชื่อเสียงว่ามีด้านหน้าที่สร้างแบบสถาปัตยกรรมกอทิกแบบอังกฤษอย่างเด่นชัด ที่มีประตูโค้งใหญ่มหึมาที่ไม่มีสิ่งก่อสร้างใดที่สร้างเช่นเดียวกันนั้นมาก่อน หรือสร้างตามมา ลักษณะที่ปรากฏเป็นเชิงที่ไม่สมมาตร เพราะหอหนึ่งในสองหอที่สูงขึ้นมาหลังด้านหน้านสร้างไม่เสร็จ แต่จะมองเห็นได้ก็จากระยะทางไกลจากตัวอาสนวิหารเท่านั้น
ระเบียงภาพ
[แก้]-
แขนกางเขนแสดงให้เห็นหน้าต่างลักษณะสถาปัตยกรรมนอร์มัน
-
แขนกางเขนด้านใต้
-
ช่องทางเดินทางด้านใต้ของบริเวณร้องเพลงสวด
-
เพดานทาสี
-
จรมุขด้านหลังบริเวณร้องเพลงสวด
-
เพดานพัดด้านหลังบริเวณร้องเพลงสวด
-
ปุ่มหินพระแม่มารี
อ้างอิง
[แก้]- ↑ "Peterborough". Encyclopædia Britannica. Encyclopædia Britannica Online. 2009. สืบค้นเมื่อ 2009-03-05.
- ↑ Catholic enclyclopedia: Cathedral
ดูเพิ่ม
[แก้]- อาสนวิหารในสหราชอาณาจักร
- สถาปัตยกรรมการก่อสร้างอาสนวิหารในยุโรปตะวันตก
- ส่วนประกอบของคริสต์ศาสนสถาน
- แผนผังอาสนวิหาร (ผังแสดงส่วนประกอบต่างๆ ของวัด)
- อาสนวิหาร
- สถาปัตยกรรมกอธิค
- สถาปัตยกรรมนอร์มัน
อ่านเพิ่ม
[แก้]- Peterborough Cathedral, 2001– 2006 : from devastation to restoration, Michael Bunker and Paul Binski, Paul Holberton Publishing, London (2006), ISBN 978-1-903470-55-8
- Peterborough Abbey, (2001), ISBN 0-7123-4710-0
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]- Peterborough Cathedral The cathedral's website
- The Cathedral Church of Peterborough, by W.D. Sweeting, at Project Gutenberg
- The New Guide to Peterborough Cathedral, by George S. Phillips, at Project Gutenberg
- Peterborough Cathedral – The Complete Geometry 1100–1500
- Pictures of Peterborough
- Bill Thayer's site
- Peterborough Cathedral on Skyscrapernews.com เก็บถาวร 2012-10-21 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- Peterborough Cathedral ที่ฐานข้อมูลโครงสร้าง (Structurae)
- Adrian Fletcher’s Paradoxplace Peterborough Cathedral Pages – Photos
- Flickr images tagged Peterborough Cathedral
- The Hedda Stone and Peterborough Cathedral at the Cambridge Military History Website