ฟูจิวาระ โนะ ทาดาฮิระ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
 
ฟูจิวาระ โนะ ทาดาฮิระ
藤原忠平
Tadahira by Kikuchi Yōsai
ยุคยุคเฮอัง
เกิดค.ศ. 880
ถึงแก่กรรม9 กันยายน ค.ศ. 949 (อายุ 68–69)
เฮอังเกียว (เกียวโต)
นามแฝงโคอิจิโจ ดาโจไดจิง
ชื่อหลังเสียชีวิตเทชินโค
จักรพรรดิอูดะไดโงะซุซะกุมูรากามิ
บิดามารดาฟุจิวะระ โนะ โมะโตะสึเนะ
พี่น้องโทกิฮิระ, อัตสึโกะ, คาเนฮิระ, ทาดาฮิระ, เซอิโกะ
ภรรยามินาโมโตะ โนะ จุนชิ
มินาโมโตะ โนะ โชชิ
บุตรซาเนโยริ, โมโรซูเกะ

ฟูจิวาระ โนะ ทาดาฮิระ (ญี่ปุ่น: 藤原 忠平โรมาจิFujiwara no Tadahira, 880 – September 9, 949) รัฐบุรุษชาวญี่ปุ่น, ข้าราชสำนักและขุนนางระหว่าง ยุคเฮอัง.[1] เขาเป็นที่รู้จักฐานะ เทชิน-โค (貞信公) หรือ โค-อิจิโจ โดโน (小一条殿) หรือ โค-อิจิโจ ไดโจไดจิง.[1]

การงาน[แก้]

ทาดาฮิระเป็น คูเงะ (ชนชั้นสูงของญี่ปุ่น) ได้รับคำชมจากการเขียนและตีพิมพ์ เอ็งงีชิกิ.[1]เขาเป็นหนึ่งในบรรณาธิการหลัก รับผิดชอบการพัฒนากฎหมายของญี่ปุ่น รู้จักฐานะ ซานได-คาคู-ชิกิ, บางครั้งเรียกว่ากฎและข้อบังคับสามชั่วอายุคน.[2]

ทาดาฮิระ รับราชการ เป็น ผู้สำเร็จราชการ ภายใต้การปกครองของ จักรพรรดิซุซะกุ ซึ่งปกครองจาก 930 ถึง 946.

  • 17 พฤศจิกายน ค.ศ. 914: ไดนะงง ทาดาฮิระ ได้รับการเสนอชื่อเป็น อูไดจิง.[3]
  • 16 ตุลาคม ค.ศ. 930: ทาดาฮิระได้เป็น เซ็ชโช.
  • 7 กันยายน ค.ศ. 936: เขาได้รับเลือกเป็น ไดโจไดจิง.[4]
  • 16 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 937: เขาจัดงานฉลองการเจริญพระชนมายุของจักรพรรดิซุซะกุ.[4]
  • 29 กันยายน ค.ศ. 941: เขากลายเป็น คัมปากุ.[1]

Genealogy[แก้]

สมาชิกของ ตระกูลฟูจิวาระ คนนี้เป็นบุตรชายของ โมโตสึเนะ[1] พี่น้องของทาดาฮิระคือ ฟูจิวาระ โนะ โทกิฮิระ และ ฟูจิวาระ โนะ นากาฮิระ[5]จักรพรรดิมูรากามิ เป็นหลานลุงของทาดาฮิระ

ทาดาฮิระยึดครองตำแหน่งหัวหน้าสาขา ฮกเกะ ของ ตระกูลฟูจิวาระ ในปี ค.ศ. 909 เมื่อโทกิฮิระพี่ชายของเขาเสียชีวิต

ภรรยาและลูกหลาน[แก้]

เขาแต่งงานกับ มินาโมโตะ โนะ จุนชิ (源順子) พระราชธิดาของ จักรพรรดิโคโก

พวกเขามีบุตรชาย.

เขาแต่งงานกับ มินาโมโตะ โนะ โชชิ (源昭子) บุตรสาวของ มินาโมโตะ โนะ โยชิอาริ

พวกเขามีบุตรหลายคน.

Selected works[แก้]

Honours[แก้]

Notes[แก้]

References[แก้]

  1. 1.0 1.1 1.2 1.3 1.4 Nussbaum, Louis-Frédéric. (2005). "Fujiwara no Tadahira" in Japan Encyclopedia, p. 209, p. 209, ที่ Google Books; Brinkley, Frank et al. (1915). A History of the Japanese People from the Earliest Times to the End of the Meiji Era, p. 203., p. 203, ที่ Google Books
  2. Brinkley,p. 177., p. 177, ที่ Google Books
  3. Titsingh, Isaac. (1834). Annales des empereurs du japon, p. 133., p. 133, ที่ Google Books; see "Fousiwara-no Tada fira", pre-Hepburn romanization
  4. 4.0 4.1 Titsingh, p. 135., p. 135, ที่ Google Books
  5. Brinkley, p. 241., p. 241, ที่ Google Books
  6. Nussbaum, "Fujiwara no Saneyori" in p. 208, p. 208, ที่ Google Books; Titsingh, p. 138., p. 138, ที่ Google Books
  7. Nussbaum, "Fujiwara no Morosuke" in p. 206, p. 206, ที่ Google Books.