ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานควีนสคัพ ครั้งที่ 33

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานควีนสคัพ ครั้งที่ 33
ควีนสคัพ ครั้งที่ 33
ควีนสคัพ 2552
ประเทศไทย
วันที่แข่งขัน1 – 22 กุมภาพันธ์ 2552
จำนวนทีม23
(21 สโมสรจากประเทศไทย, 2 สโมสรจากเกาหลีใต้)
ชนะเลิศฤดูกาลที่แล้วราชนาวี
ชนะเลิศฮาเลลูยา
รองชนะเลิศบีอีซี เทโรศาสน

การแข่งขันฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานควีนส์คัพ ครั้งที่ 33 ประจำปี พ.ศ. 2552 จัดขึ้นโดยสโมสรฟุตบอลชลบุรีได้เป็นเจ้าภาพ จัดแข่งขันระหว่างวันที่ 1 - 22 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2552 โดยในการแข่งขันครั้งนี้ มี 21 ทีมสโมสรจากประเทศไทย และ 2 ทีมสโมสรจากประเทศเกาหลีใต้เข้าร่วมการแข่งขัน การแข่งขันรอบคัดเลือกทำการแข่งขันใน 5 สนามกีฬาใน 4 จังหวัดและแข่งขันรอบสุดท้ายที่ สนามฟุตบอลสิรินธร โรงเรียนอัสสัมชัญศรีราชา จังหวัดชลบุรี โดยทีมชนะเลิศจะได้ครองถ้วยพระราชทานเป็นเวลา 1 ปี พร้อมเงินรางวัล 300,000 บาท รองชนะเลิศ 150,000 บาท อันดับ 3 รับเงินรางวัล 100,000 บาท

การแข่งขันรอบคัดเลือก[แก้]

ดูเพิ่มเติม ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานควีนสคัพ ครั้งที่ 33 รอบคัดเลือก

รอบแบ่งกลุ่ม[แก้]

กลุ่ม เอ[แก้]

ทีม แข่ง ชนะ เสมอ แพ้ ประตูได้ ประตูเสีย +/- แต้ม
พัทยา ยูไนเต็ด 3 2 1 0 7 1 +6 7
บีอีซี เทโรศาสน 3 1 2 0 5 0 +5 5
การท่าเรือฯ 3 1 1 1 5 2 +3 4
ราชประชา 3 0 0 3 0 14 -14 0

กลุ่ม บี[แก้]

กลุ่ม บี มีสโมสรฟุตบอลการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค เป็นเจ้าภาพการแข่งขัน

ทีม แข่ง ชนะ เสมอ แพ้ ประตูได้ ประตูเสีย +/- แต้ม
Buriram united.png ไฟฟ้า-อยุธยา 3 2 1 0 5 3 +2 7
ทหารอากาศ 3 2 0 1 5 4 +1 6
ราชนาวี-ระยอง 3 1 1 1 5 4 +1 4
สินธนา 3 0 0 3 5 9 -4 0

กลุ่ม ซี[แก้]

กลุ่ม ซี มีสโมสรฟุตบอลสมุทรสงคราม เป็นเจ้าภาพการแข่งขัน

ทีม แข่ง ชนะ เสมอ แพ้ ประตูได้ ประตูเสีย +/- แต้ม
สมุทรสงคราม 3 2 1 0 5 2 +3 7
ธ.กรุงไทย 3 2 1 0 6 4 +2 7
พนักงานยาสูบ 3 0 1 2 4 6 -2 1
ตำรวจ 3 0 1 2 2 5 -3 1

กลุ่ม ดี[แก้]

กลุ่ม ดี มีสโมสรฟุตบอลสุพรรณบุรี เป็นเจ้าภาพการแข่งขัน

ทีม แข่ง ชนะ เสมอ แพ้ ประตูได้ ประตูเสีย +/- แต้ม
ทหารบก 3 1 2 0 4 3 +1 5
สุพรรณบุรี 3 0 3 0 3 3 0 3
ทีโอที 3 0 3 0 1 1 0 3
ม.กรุงเทพ 3 0 2 1 1 2 -1 2

กลุ่ม อี[แก้]

กลุ่ม อี มีสโมสรฟุตบอลฮากกา เป็นเจ้าภาพการแข่งขัน โดยใช้ผู้เล่นของศรีราชา เอฟซี

ทีม แข่ง ชนะ เสมอ แพ้ ประตูได้ ประตูเสีย +/- แต้ม
โอสถสภา เอ็ม-150 3 2 0 1 8 3 +5 6
ฮากกา-ศรีราชา เอฟซี 3 2 0 1 5 3 +2 6
ราชวิถี-บางกอกกล๊าส 3 2 0 1 6 9 -3 6
นครปฐม 3 0 0 3 2 6 -4 0

รอบสอง[แก้]

พัทยา ยูไนเต็ด5 - 1ทหารอากาศ
สนามกีฬาหนองปรือ เมืองพัทยา
ไฟฟ้า-อยุธยา Buriram united.png2 - 3ธ.กรุงไทย
สนามกีฬากลางจังหวัดพระนครศรีอยุธยา จ.อยุธยา
สมุทรสงคราม2 - 1สุพรรณบุรี
สนามกีฬากลางจังหวัดสมุทรสงคราม จ.สมุทรสงคราม
ทหารบก1 - 0ฮากกา-ศรีราชา เอฟซี
สนามกีฬา อบจ.ชลบุรี จ.ชลบุรี
โอสถสภา เอ็ม-1501 - 1
(4 - 5)
(จุดโทษ)
บีอีซี เทโรศาสน
สนามกีฬา อบจ.ชลบุรี จ.ชลบุรี

การแข่งขันรอบสุดท้าย[แก้]

ในการแข่งขันรอบสุดท้ายจะจัดขึ้นที่สนามฟุตบอลสิรินธร โรงเรียนอัสสัมชัญศรีราชา จังหวัดชลบุรี โดยจะมี 8 สโมสรเข้าร่วมได้แก่ 5 สโมสรจากรอบคัดเลือก 2 สโมสรรับเชิญจากประเทศเกาหลีใต้ และสโมสรฟุตบอลชลบุรี เจ้าภาพการแข่งขันในครั้งนี้

รายชื่อสโมสรที่เข้ารอบ[แก้]

สโมสรเข้ารอบอัตโนมัติ
สโมสรที่ผ่านรอบคัดเลือก

สาย เอ[แก้]

ทีม แข่ง ชนะ เสมอ แพ้ ประตูได้ ประตูเสีย +/- แต้ม
ชลบุรี 3 2 1 0 7 3 +4 7
บีอีซี เทโรศาสน 3 1 1 1 5 7 -2 4
ม.ฮานยาง 3 1 0 2 5 6 -1 3
ธ.กรุงไทย 3 0 2 1 3 4 -1 2

ผลการแข่งขัน[แก้]

ชลบุรี Chonburi FC.svg2 - 1Hanyang University Symbol.png ม.ฮานยาง
อาทิตย์ สุนทรพิธ Goal 75'
เอกพันธ์ อินทเสน Goal 76'
โชน ช็อก แบ Goal 38'
สนามสิรินธร อัสสัมชัญ ศรีราชา

ธ.กรุงไทย FC Krung Thai Bank.svg.png1 - 1Chonburi FC.svg ชลบุรี
พีรพงศ์ พิชิตโชติรัตน์ Goal 60' อาทิตย์ สุนทรพิธ Goal 90'
สนามสิรินธร อัสสัมชัญ ศรีราชา

ม.ฮานยาง Hanyang University Symbol.png2 - 1FC Krung Thai Bank.svg.png ธ.กรุงไทย
คิม ซาน ฮี Goal 16'
คิม โยง โฮ Goal 90+2'
อำนาจ แก้วเขียว Goal 43'
สนามสิรินธร อัสสัมชัญ ศรีราชา

สาย บี[แก้]

ทีม แข่ง ชนะ เสมอ แพ้ ประตูได้ ประตูเสีย +/- แต้ม หมายเหตุ
Pattaya united.png พัทยา ยูไนเต็ด 3 1 2 0 1 0 +1 5
HallelujahFC.png ฮาเลลูยา 3 1 1 1 3 3 0 4 เฮด ทู เฮด
ฮาเลลูยา ชนะ 2-1
Army United logo 2018.jpg ทหารบก 3 1 1 1 4 2 +2 4
Samutsongkhram fc.png สมุทรสงคราม 3 0 2 3 1 4 -3 2

ผลการแข่งขัน[แก้]

ฮาเลลูยา HallelujahFC.png1 - 1Samutsongkhram fc.png สมุทรสงคราม
คัง แต ซอง Goal 8' จิรวัฒน์ แก้วโบราณ Goal 49'
สนามสิรินธร อัสสัมชัญ ศรีราชา
ทหารบก Army United logo 2018.jpg0 - 0Pattaya united.png พัทยา ยูไนเต็ด
สนามสิรินธร อัสสัมชัญ ศรีราชา

ทหารบก Army United logo 2018.jpg1 - 2HallelujahFC.png ฮาเลลูยา
ธาตรี สีหา Goal 62' คัง แต ซอง Goal 31'
จู ซอน โฮ Goal 78'
สนามสิรินธร อัสสัมชัญ ศรีราชา
สมุทรสงคราม Samutsongkhram fc.png0 - 0Pattaya united.png พัทยา ยูไนเต็ด
สนามสิรินธร อัสสัมชัญ ศรีราชา

สมุทรสงคราม Samutsongkhram fc.png0 - 3Army United logo 2018.jpg ทหารบก
ธาตรี สีหา Goal 76'
มงคล ทศไกร Goal 82', Goal 88'
สนามสิรินธร อัสสัมชัญ ศรีราชา
พัทยา ยูไนเต็ด Pattaya united.png1 - 0HallelujahFC.png ฮาเลลูยา
สมชาย สิงห์มณี Goal 43'
สนามสิรินธร อัสสัมชัญ ศรีราชา

รอบแพ้คัดออก[แก้]

รอบรองชนะเลิศ รอบชิงชนะเลิศ
20 ก.พ. 2552 17:30
  Chonburi FC.svg ชลบุรี 1(5)  
  HallelujahFC.png ฮาเลลูยา 1(6)  
 
22 ก.พ. 2552 18:00
      HallelujahFC.png ฮาเลลูยา 1
    180px-BEC-Tero Sasana svg.png บีอีซี เทโรศาสน 0
20 ก.พ. 2552 20:00
  Pattaya united.png พัทยา ยูไนเต็ด 0
  180px-BEC-Tero Sasana svg.png บีอีซี เทโรศาสน 3  

ผลการแข่งขัน[แก้]

รอบรองชนะเลิศ

ชลบุรี Chonburi FC.svg1 - 1HallelujahFC.png ฮาเลลูยา
โคเน่ โมฮัมเหม็ด Goal 36' (ลูกโทษ) โจน แจ ฮี Goal 82'
สนามสิรินธร อัสสัมชัญ ศรีราชา
    จุดโทษ  
แอนเดอร์สัน O
สุทธินันท์ พุกหอม O
สุรัตน์ สุขะ O
สุรีย์ สุขะ O
โคเน่ โมฮัมเหม็ด X
4 - 5 O ลิม ซุง โฮ
O โจ ดู อิล
O ยุน เฮียง แต
O โซ บัง เฮือน
O โอ คี แต
 

รอบชิงชนะเลิศ

ฮาเลลูยา HallelujahFC.png1 - 0180px-BEC-Tero Sasana svg.png บีอีซี เทโรศาสน
ยูน โดง ฮอน Goal 56'
สนามสิรินธร อัสสัมชัญ ศรีราชา

ชนะเลิศควีนสคัพ ครั้งที่ 33
เกาหลีใต้

HallelujahFC.png
ฮาเลลูยา
ชนะเลิศครั้งแรก

รางวัลยอดเยี่ยม[แก้]

นักเตะยอดเยี่ยม ควีนส์สตาร์[แก้]

ผู้รักษาประตู: แช อิม คิว (ฮาเลลูยา)
กองหลัง: จู ฮอน โอ (ฮาเลลูยา), อกัสซู, ชลากร สงวนดี (บีอีซี เทโรศาสน), ณัฐพงษ์ สมณะ (ชลบุรี)
กองกลาง: อาทิตย์ สุนทรพิธ (ชลบุรี), พิชิต ใจบุญ (บีอีซี เทโรศาสน), สมภพ นิลวงศ์ (พัทยา ยูไนเต็ด)
กองหน้า: คัง แต ซอง (ฮาเลลูยา), สมชาย สิงห์มณี (พัทยา ยูไนเต็ด), แอนเดอร์สัน (ชลบุรี)

รางวัล ชื่อ สโมสร
ดาวซัลโว แอนเดอร์สัน ชลบุรี
นักเตะยอดเยี่ยม แช อิม คิว ฮาเลลูยา
ผู้ฝึกสอนยอดเยี่ยม ลี ยอง มู ฮาเลลูยา
ผู้จัดการทีมยอดเยี่ยม วิรัช นิสัยพันธ์ ฮาเลลูยา
ทีมมารยาทยอดเยี่ยม ชลบุรี