ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สนามกีฬาแห่งชาติปักกิ่ง"

พิกัด: 39°59′30″N 116°23′26″E / 39.99167°N 116.39056°E / 39.99167; 116.39056
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Ahcuna (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Ahcuna (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 16: บรรทัด 16:
| capacity = ระหว่างแข่งขันโอลิมปิก: 100,000 ที่นั่ง<br>หลังการแข่งขันโอลิมปิก: 80,000 ที่นั่ง
| capacity = ระหว่างแข่งขันโอลิมปิก: 100,000 ที่นั่ง<br>หลังการแข่งขันโอลิมปิก: 80,000 ที่นั่ง
}}
}}
'''สนามกีฬาแห่งชาติกรุงปักกิ่ง''' หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่า '''สนามกีฬาแห่งชาติ'''<ref name=OffSite>{{cite web|url= http://en.beijing2008.cn/cptvenues/venues/nst/n214078095.shtml|title= The National Stadium|access-date= 27 August 2008|work= Competition Venues|publisher= The Official Website of the Beijing 2008 Olympic Games|archive-url= https://web.archive.org/web/20080827002143/http://en.beijing2008.cn/cptvenues/venues/nst/n214078095.shtml|archive-date= 27 August 2008|url-status= dead|df= dmy-all}}</ref> ({{zh|s=国家体育场|p=Guójiā Tǐyùchǎng|l=National Stadium}}; ''เป่ย์จิงกั๋วเจียถี่ยู่ฉาง'') หรือที่เรียกว่า '''รังนก''' ({{zh|s=鸟巢 |p=Niǎocháo|labels=no|l=Bird's Nest}}) เป็นสนามกีฬาหลักที่ใช้ในการแข่งขันกีฬา[[โอลิมปิกฤดูร้อน 2008]] ที่จะถูกจัดขึ้นที่[[กรุงปักกิ่ง]] [[ประเทศจีน]]เริ่มก่อสร้างเมื่อเดือนธันวาคม 2546 มีกำหนดการสร้างเสร็จในปี 2550 นี้ ได้รับการออกแบบโดย Herzog & DeMeuron ([[สวิสเซอร์แลนด์]]) และสถาบันออกแบบสถาปัตยกรรมจีน (China Architecture Design Institute) ครอบคลุมพื้นที่ 258,000 ตร. ม. และมีขนาดความจุ 1 แสนที่นั่ง ใช้งบประมาณถึง 3.5 พันล้าน[[เหรินหมินปี้]] โดยสนามกีฬาแห่งนี้จะถูกใช้เป็นสนามแข่งขัน[[กรีฑา]]และ[[ฟุตบอล]]
'''สนามกีฬาแห่งชาติกรุงปักกิ่ง''' หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่า '''สนามกีฬาแห่งชาติ'''<ref name=OffSite>{{cite web|url= http://en.beijing2008.cn/cptvenues/venues/nst/n214078095.shtml|title= The National Stadium|access-date= 27 August 2008|work= Competition Venues|publisher= The Official Website of the Beijing 2008 Olympic Games|archive-url= https://web.archive.org/web/20080827002143/http://en.beijing2008.cn/cptvenues/venues/nst/n214078095.shtml|archive-date= 27 August 2008|url-status= dead|df= dmy-all}}</ref> ({{zh|s=国家体育场|p=Guójiā Tǐyùchǎng|l=National Stadium}}; ''เป่ย์จิงกั๋วเจียถี่ยู่ฉาง'') หรือที่เรียกว่า '''รังนก''' ({{zh|s=鸟巢 |p=Niǎocháo|labels=no|l=Bird's Nest}}) เป็นสนามกีฬาหลักที่ใช้ในการแข่งขันกีฬา[[โอลิมปิกฤดูร้อน 2008]] ที่จะถูกจัดขึ้นที่[[กรุงปักกิ่ง]] [[ประเทศจีน]]เริ่มก่อสร้างเมื่อเดือนธันวาคม พ.ศ. 2546 มีกำหนดการสร้างเสร็จในปี พ.ศ. 2550 นี้ ได้รับการออกแบบโดย Herzog & DeMeuron ([[สวิสเซอร์แลนด์]]) และสถาบันออกแบบสถาปัตยกรรมจีน (China Architecture Design Institute) ครอบคลุมพื้นที่ 258,000 ตารางเมตร และมีขนาดความจุ 100,000 ที่นั่ง ใช้งบประมาณถึง 3.5 พันล้าน[[เหรินหมินปี้]] โดยสนามกีฬาแห่งนี้จะถูกใช้เป็นสนามแข่งขัน[[กรีฑา]]และ[[ฟุตบอล]]


สนามกีฬาดังกล่าวตั้งอยู่ทิศใต้ของสวนโอลิมปิกในปักกิ่ง โดยเป็นสเตเดียมแบบเปิด รวมพื้นที่ 23.7 เฮกเตอร์ เพื่อใช้ในพิธีเปิด – ปิด และการแข่งขันกรีฑาประเภทลู่และลานของกีฬาโอลิมปิก 2008 โดยสามารถจุผู้ชมได้มากถึง 100,000 คน แบ่งเป็นที่นั่งแบบถาวร 80,000 ที่ และที่นั่งเสริม 20,000 ที่(รื้อออกเมื่อสิ้นสุดการแข่งขัน) ทั้งนี้ ภายหลักการแข่งขันกีฬาโอลิมปิก 2008 แล้ว สนามแห่งนี้จะใช้เป็นสนามแข่งขันระหว่างประเทศ หรือกิจกรรมทางกีฬาอื่น ๆ
สนามกีฬาดังกล่าวตั้งอยู่ทิศใต้ของสวนโอลิมปิกในปักกิ่ง โดยเป็นสเตเดียมแบบเปิด รวมพื้นที่ 23.7 เฮกเตอร์ เพื่อใช้ในพิธีเปิด – ปิด และการแข่งขันกรีฑาประเภทลู่และลานของกีฬาโอลิมปิก 2008 โดยสามารถจุผู้ชมได้มากถึง 100,000 คน แบ่งเป็นที่นั่งแบบถาวร 80,000 ที่ และที่นั่งเสริม 20,000 ที่(รื้อออกเมื่อสิ้นสุดการแข่งขัน) ทั้งนี้ ภายหลักการแข่งขันกีฬาโอลิมปิก 2008 แล้ว สนามแห่งนี้จะใช้เป็นสนามแข่งขันระหว่างประเทศ หรือกิจกรรมทางกีฬาอื่น ๆ

รุ่นแก้ไขเมื่อ 20:07, 31 กรกฎาคม 2564

สนามกีฬาแห่งชาติปักกิ่ง
สนามกีฬารังนก
สนามกีฬาแห่งชาติปักกิ่ง ใน พ.ศ. 2554
แผนที่
ที่ตั้งปักกิ่ง, สาธารณรัฐประชาชนจีน
เจ้าของรัฐบาลของสาธารณรัฐประชาชนจีน
ความจุระหว่างแข่งขันโอลิมปิก: 100,000 ที่นั่ง
หลังการแข่งขันโอลิมปิก: 80,000 ที่นั่ง
พื้นผิวหญ้า
การก่อสร้าง
ลงเสาเข็ม24 ธันวาคม 2546
เปิดใช้สนาม28 มิถุนายน 2551
งบประมาณในการก่อสร้าง3.5 พันล้าน หยวน
การใช้งาน
โอลิมปิกฤดูร้อน 2008
โอลิมปิกฤดูหนาว 2022

สนามกีฬาแห่งชาติกรุงปักกิ่ง หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่า สนามกีฬาแห่งชาติ[1] (จีน: 国家体育场; พินอิน: Guójiā Tǐyùchǎng; แปลตรงตัว: "National Stadium"; เป่ย์จิงกั๋วเจียถี่ยู่ฉาง) หรือที่เรียกว่า รังนก (鸟巢; Niǎocháo; "Bird's Nest") เป็นสนามกีฬาหลักที่ใช้ในการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อน 2008 ที่จะถูกจัดขึ้นที่กรุงปักกิ่ง ประเทศจีนเริ่มก่อสร้างเมื่อเดือนธันวาคม พ.ศ. 2546 มีกำหนดการสร้างเสร็จในปี พ.ศ. 2550 นี้ ได้รับการออกแบบโดย Herzog & DeMeuron (สวิสเซอร์แลนด์) และสถาบันออกแบบสถาปัตยกรรมจีน (China Architecture Design Institute) ครอบคลุมพื้นที่ 258,000 ตารางเมตร และมีขนาดความจุ 100,000 ที่นั่ง ใช้งบประมาณถึง 3.5 พันล้านเหรินหมินปี้ โดยสนามกีฬาแห่งนี้จะถูกใช้เป็นสนามแข่งขันกรีฑาและฟุตบอล

สนามกีฬาดังกล่าวตั้งอยู่ทิศใต้ของสวนโอลิมปิกในปักกิ่ง โดยเป็นสเตเดียมแบบเปิด รวมพื้นที่ 23.7 เฮกเตอร์ เพื่อใช้ในพิธีเปิด – ปิด และการแข่งขันกรีฑาประเภทลู่และลานของกีฬาโอลิมปิก 2008 โดยสามารถจุผู้ชมได้มากถึง 100,000 คน แบ่งเป็นที่นั่งแบบถาวร 80,000 ที่ และที่นั่งเสริม 20,000 ที่(รื้อออกเมื่อสิ้นสุดการแข่งขัน) ทั้งนี้ ภายหลักการแข่งขันกีฬาโอลิมปิก 2008 แล้ว สนามแห่งนี้จะใช้เป็นสนามแข่งขันระหว่างประเทศ หรือกิจกรรมทางกีฬาอื่น ๆ

การคัดเลือก

มีร่างการออกแบบสนามกีฬาแห่งชาติจีน 3 ชุด ได้รับเลือกเข้าสู่สนามพิจารณารอบสุดท้าย ซึ่งเจ้าของแบบทั้งสามที่เข้ารอบตัดสินสุดท้ายนี้ได้แก่

  • กลุ่มบริษัทข้ามชาติเฮอร์ซอจ & เดอ มูรอนแห่งสวิสเซอร์แลนด์ และสถาบันการออกแบบสถาปัตยกรรมแห่งจีน
  • สถาบันการออกแบบสถาปัตยกรรมแห่งปักกิ่ง และ
  • กลุ่มบริษัทข้ามชาติเอเอ็กซ์เอสแห่งญี่ปุ่นและสถาบันการออกแบบสถาปัตยกรรมแห่งมหาวิทยาลัยชิงหัว

สำหรับคณะกรรมการพิจารณาการออกแบบครั้งนี้ ประกอบด้วยกลุ่มผู้เชี่ยวชาญและกลุ่มสถาปนิก 13 คน จากประเทศต่างๆ 5 ชาติ จีนได้เปิดเวทีประกวดการออกแบบสนามกีฬาแห่งชาติในเดือนธันวาคมปีที่ผ่านมา และมีกลุ่มบริษัทยักษ์ใหญ่ด้านการออกแบบงานก่อสร้างที่ช่ำชองการออกแบบสนามกีฬาทั้งในประเทศและต่าง

ประเทศ 13 กลุ่ม รวมทั้งกลุ่มความร่วมมือระหว่างบริษัทต่างๆ เข้าร่วมการแข่งขัน ในจำนวนนี้ ประกอบด้วยบริษัทสัญชาติจีน 2 แห่ง บริษัทจากต่างประเทศ 8 แห่ง และกลุ่มความร่วมมือระหว่างบริษัทจีนและต่างประเทศ 3 แห่ง

ในวันที่ 25 มีนาคม พ.ศ. 2546 คณะกรรมการฯได้ประกาศการตัดสินร่างแบบฯของกลุ่มบริษัท 3 กลุ่ม เข้ารอบการพิจารณาสุดท้าย พร้อมทั้งมีการนำร่างการออกแบบสนามกีฬาของกลุ่มบริษัททั้ง 13 แห่ง มาแสดงนิทรรศการที่ศูนย์การประชุมนานาชาติในปักกิ่ง ให้สาธารณชนชม ร่างแบบทั้ง 13 ชุดนี้ เป็นของกลุ่มบริษัทจากทั่วโลกได้แก่ จีน ญี่ปุ่น สหรัฐอเมริกา ฝรั่งเศส สวิสเซอร์แลนด์ ออสเตรเลีย แคนาดา เยอรมนี รวมทั้งกลุ่มความร่วมมือของบริษัทจีน-ฮ่องกง เป็นต้น

ในงานนิทรรศการแสดงร่างการออกแบบสนามกีฬาดังกล่าว เปิดให้ประชาชนเข้าชมฟรีไปถึงวันที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2546 ทั้งยังมีการเปิดโอกาสแก่ประชาชนให้คะแนนร่างแบบที่พวกเขาชื่นชอบด้วย ซึ่งคะแนนเหล่านี้ จะมีผลต่อการตัดสินของคณะกรรมการฯ

หลังจากตัดสินแบบสนามกีฬาแล้ว ปักกิ่งจะเริ่มลงมือก่อสร้างในวันที่ 24 ธันวาคม พ.ศ. 2546 สนามกีฬาใหม่นี้ ซึ่งจะถูกสร้างขึ้นในบริเวณตอนใต้ของสวนโอลิมปิกในปักกิ่ง สามารถรองรับผู้ชมการแข่งขันได้ถึง 80,000 คน และจะเป็นสถานที่ดำเนินพิธีเปิดและปิดมหกรรมกีฬาโลก 2008 ตลอดจนเป็นสถานที่จัดแสดงงานกลางแจ้งต่างๆระหว่างการแข่งขันด้วย

ผลการตัดสิน

จีนได้ตัดสินแบบสนามกีฬาแห่งชาติแห่งใหม่ ซึ่งจะใช้เป็นสนามแข่งขันมหกรรมกีฬาโอลิมปิกปี 2008 การออกแบบที่ชนะการประกวดนี้ มีชื่อแบบว่า ‘รังนก’ (Bird's Nest) ซึ่งเป็นผลงานร่วมของสถาปนิกสวิสและจีน

ปักกิ่ง ซึ่งเป็นจะเป็นเจ้าภาพโอลิมปิกปี 2008 เปิดเวทีการประกวดแบบสนามกีฬาโอลิมปิกเมื่อเดือนธันวาคม ปี 2002 และในเดือนมีนาคม คณะกรรมการได้ตัดสินแบบ 13 ชุด เข้ารอบสุดท้าย พร้อมได้นำออกแสดงในนิทรรศการและให้ประชาชนให้คะแนนแบบที่ตนเห็นว่าดีที่สุด

ในที่สุด แบบ ‘รังนก’ ซึ่งเป็นความคิดสร้างสรรค์ร่วมของสถาปนิกชื่อดังของบริษัทออกแบบเฮอร์ซอจ & เดอ มูรอนแห่งสวิสเซอร์แลนด์ และสถาบันการออกแบบสถาปัตยกรรมแห่งจีน ก็ชนะใจกรรมการและประชาชน

สนามกีฬาแห่งนี้ มีรูปทรงรังนกที่มีโครงตาข่ายเหล็กสีเทาๆเหมือนกิ่งไม้ ห่อหุ้มเพดานและผนังอาคารที่ทำด้วยวัสดุโปร่งใส อัฒจันทร์มีลักษณะรูปทรงชามสีแดง ซึ่งดูคล้ายกับพระราชวังโบราณ ‘กู้กง’ ของจีน ภาพโครงสร้างของสนามกีฬาแห่งนี้ จึงดูคล้ายพระราชวังสีแดง ที่อยู่ภายในรั้วกำแพงสีเทาเขียว ซึ่งให้กลิ่นอายงดงามแบบตะวันออก

สำหรับบันไดภายในสนามกีฬาถูกสร้างให้กลมกลืนกับโครงตาข่าย ซึ่งให้ภาพลักษณ์ของความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันหรือเอกภาพ

สนามกีฬาโอลิมปิกนี้ มีกำหนดเริ่มก่อสร้างในวันที่ 24 ธันวาคม 2003 ตอน 10 โมงเช้า

อ้างอิง

  1. "The National Stadium". Competition Venues. The Official Website of the Beijing 2008 Olympic Games. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 27 สิงหาคม 2008. สืบค้นเมื่อ 27 สิงหาคม 2008.

39°59′30″N 116°23′26″E / 39.99167°N 116.39056°E / 39.99167; 116.39056