กรีฑาสถานแห่งชาติญี่ปุ่น

พิกัด: 35°40′41″N 139°42′53″E / 35.67806°N 139.71472°E / 35.67806; 139.71472
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
กรีฑาสถานแห่งชาติญี่ปุ่น
国立競技場
ภาพถ่ายมุมสูงของกรีฑาสถานแห่งชาติญี่ปุ่น พ.ศ. 2564 (ขวามือ)
แผนที่
ชื่อเต็มกรีฑาสถานแห่งชาติญี่ปุ่น
ที่ตั้งเขตชินจูกุ โตเกียว ประเทศญี่ปุ่น
พิกัด35°40′41″N 139°42′53″E / 35.67806°N 139.71472°E / 35.67806; 139.71472
เจ้าของสภากีฬาประเทศญี่ปุ่น
ผู้ดำเนินการสภากีฬาประเทศญี่ปุ่น
ที่นั่งพิเศษ500 ที่นั่ง (สำหรับผู้มีความพิการ)
ความจุ68,000 (โอลิมปิกฤดูร้อน 2020)
80,016 (เก้าอี้เสริม)
ขนาดสนาม107 × 71 เมตร
พื้นที่ฟุตบอลทีมชาติญี่ปุ่น (พ.ศ. 2563)
รักบี้ยูเนียนทีมชาติญี่ปุ่น (พ.ศ. 2563)
พื้นผิวหญ้า
ป้ายแสดงคะแนนพานาโซนิค[1]
การก่อสร้าง
ลงเสาเข็ม11 ธันวาคม 2559
ก่อสร้างธันวาคม 2559 - 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2562
เปิดใช้สนาม21 ธันวาคม 2562
งบประมาณในการก่อสร้าง1.4 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ (157 พันล้านเยน)
สถาปนิกเค็งโงะ คูมะ
บริษัทออกแบบเทเซ
บริษัทออกแบบอาซูซะ เซกเกะ
การใช้งาน
โอลิมปิกฤดูร้อน 2020
พาราลิมปิกฤดูร้อน 2020
ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานสมเด็จพระจักรพรรดิ

กรีฑาสถานแห่งชาติ (ญี่ปุ่น: 国立競技場) สนามกีฬาแห่งชาติใหม่ของประเทศญี่ปุ่น ตั้งอยู่ในเขตชินจูกุ กรุงโตเกียว เป็นสนามกีฬาเอนกประสงค์ตั้งอยู่บนพื้นที่ของสนามกีฬาแห่งชาติเดิม ใช้สำหรับจัดกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อน 2020 ที่กรุงโตเกียวเป็นเจ้าภาพ

การแข่งขันรักบี้ชิงแชมป์มหาวิทยาลัยแห่งชาติญี่ปุ่นครั้งที่ 56 รอบชิงชนะเลิศ ระหว่าง สโมสรมหาวิทยาลัยเมจิ กับ สโมสรมหาวิทยาลัยวาเซดะ

ประวัติ[แก้]

สนามกีฬาแห่งชาติเดิมถูกรื้อทิ้งแล้วเสร็จในเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2558 และในอีกสองเดือนถัดมา นายกรัฐมนตรีอาเบะประกาศปรับดีไซน์ใหม่ของสนามกีฬาหลังดีไซน์เดิมต้องใช้งบประมาณก่อสร้างสูงมาก ดีไซน์โดยสถาปนิกเค็งโงะ คูมะ ได้รับอนุมัติในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2558 และมีกำหนดก่อสร้างแล้วเสร็จในเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2562

รายละเอียดสนาม[แก้]

สนามกีฬาแห่งนี้มีความแปลกตรงที่ไม้ถูกนำมาใช้เป็นส่วนประกอบหลักของโครงสร้าง โดยทั้งหมดได้มาจากประเทศญี่ปุ่นเพื่อลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม องค์ประกอบไม้หลายชิ้นอยู่ในรูปแบบโมดูลาร์ ซึ่งสามารถทดแทนได้เมื่อไม้เสื่อมสภาพ ไม้ที่ได้รับการรับรองนั้นได้มาจากทั้ง 47 จังหวัดของญี่ปุ่นตามประเพณีที่เริ่มต้นโดยศาลเจ้าเมจิ การออกแบบชายคาได้รับแรงบันดาลใจจากวัดโฮริวจิ และรวมเอาช่องว่างอากาศที่ใช้ประโยชน์จากสภาพลมที่พัดเข้ามาเพื่อระบายอากาศภายในพื้นที่ให้เกิดประโยชน์สูงสุด ส่วนหนึ่งของหลังคาประกอบด้วยแผงโซลาร์เซลล์โปร่งใส และน้ำฝนจะถูกเก็บในถังเก็บน้ำใต้ดิน และใช้ในการชลประทานสนามหญ้าในสนามกีฬาตลอดจนพืชพรรณนานาชนิดบนทางเดินเล่นชั้นบนสุด การเข้าถึงเป็นปัญหาสำคัญ ส่งผลให้มีสถานที่สำหรับผู้ใช้รถเข็นมากกว่า 450 แห่ง รวมถึงห้องน้ำที่ใช้เทคโนโลยีใหม่ล่าสุด

การเข้าถึง[แก้]

สมุดภาพ[แก้]

การก่อสร้าง[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. "国立競技場に大型映像・音響設備など各種スタジアム設備を納入" (Press release). パナソニック. 2020-01-07.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]

ก่อนหน้า กรีฑาสถานแห่งชาติญี่ปุ่น ถัดไป
สนามกีฬามารากานัง
รีโอเดจาเนโร
โอลิมปิกฤดูร้อน
พิธีเปิดและพิธีปิด (สนามกีฬาโอลิมปิก)

(2020)
สตาดเดอฟร็องส์
ปารีส
สนามกีฬาโอลิมปิกนิลตง ซังตุส
รีโอเดจาเนโร
กีฬากรีฑา
สนามกีฬาหลัก

(2020)
สตาดเดอฟร็องส์
ปารีส
สนามกีฬาโอลิมปิกนิลตง ซังตุส
รีโอเดจาเนโร
กีฬากรีฑาพาราลิมปิก
สนามกีฬาหลัก

(2020)
สตาดเดอฟร็องส์
ปารีส

แม่แบบ:Summer Olympic stadia แม่แบบ:2020 Summer Olympic venues แม่แบบ:Olympic venues athletics แม่แบบ:Olympic venues football