ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วิตามินบี6"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Aanon (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
'''วิตามินบี6''' ({{lang-en|vitamin B<sub>6</sub>}}) เป็นวิตามินที่มักใช้ร่วมกับ[[วิตามินบี1|บี1]] และ[[วิตามินบี12|บี12]] ซึ่งวิตามินบี1 ทำงานกับ[[คาร์โบไฮเดรต]]ส่วนวิตามินบี6 และบี12 ทำงานร่วมกับ[[โปรตีน]]และ[[ไขมัน]] ร่างกายมนุษย์ต้องการวิตามินบี6 ประมาณ 1.5 มิลลิกรัม
'''วิตามินบี6''' ({{lang-en|vitamin B<sub>6</sub>}}) หรือ '''ไพริดอกซิน''' ({{lang-en|Pyridoxine}}) เป็นวิตามินชนิดที่ละลายในน้ำได้<ref>[https://siripansiri.wordpress.com/%E0%B9%80%E0%B8%99%E0%B8%B7%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%AB%E0%B8%B2%E0%B8%9A%E0%B8%97%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%99/%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B8%AB%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%A0%E0%B8%97%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%95%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%B4%E0%B8%99/ สารอาหารประเภทวิตามิน], วันที่สืบค้น 19 เมษายน 2559 จาก www.siripansiri.wordpress.com.</ref> ซึ่งมักใช้ร่วมกับ[[วิตามินบี1|บี1]] และ[[วิตามินบี12|บี12]] ซึ่งวิตามินบี1 ทำงานกับ[[คาร์โบไฮเดรต]]ส่วนวิตามินบี6 และบี12 ทำงานร่วมกับ[[โปรตีน]]และ[[ไขมัน]] ร่างกายมนุษย์ต้องการวิตามินบี6 ประมาณ 1.5 มิลลิกรัม

== ประโยชน์ ==
* ช่วยเปลี่ยน[[กรดอะมิโน]]ให้เป็น[[วิตามินบี3]] หรือไนอะซิน
* ช่วยร่างกายสร้างภูมิต้านทาน[[แอนติบอดี]] และช่วยสร้างเซลล์โลหิตได้ดียิ่งขึ้น
* ช่วยร่างกายสร้าง[[น้ำย่อย]]ใน[[กระเพาะอาหาร]]และแร่ธาตุ[[แมกนีเซียม]]
* ช่วยบรรเทาโรคที่เกิดจากระบบประสาทและผิวหนัง
* ช่วยบรรเทาการคลื่นไส้อาเจียน
* ช่วยบรรเทาอาการปากแห้งและคอแห้ง
* ช่วยแก้การเป็น[[ตะคริว]] แขนขาชาและช่วยขับปัสสาวะ


== รูปแบบ ==
== รูปแบบ ==
บรรทัด 19: บรรทัด 10:
* [[ไพริดอกซามีน 5'-ฟอสเฟต]] (pyridoxamine 5'-phosphate: PMP)
* [[ไพริดอกซามีน 5'-ฟอสเฟต]] (pyridoxamine 5'-phosphate: PMP)
* [[กรด 4-ไพริดอกซิก]] (4-pyridoxic acid: PA)
* [[กรด 4-ไพริดอกซิก]] (4-pyridoxic acid: PA)

== ประโยชน์ ==
* ช่วยเปลี่ยน[[กรดอะมิโน]]ให้เป็น[[วิตามินบี3]] หรือไนอะซิน
* ช่วยร่างกายสร้างภูมิต้านทาน[[แอนติบอดี]] และช่วยสร้างเซลล์โลหิตได้ดียิ่งขึ้น
* ช่วยร่างกายสร้าง[[น้ำย่อย]]ใน[[กระเพาะอาหาร]]และแร่ธาตุ[[แมกนีเซียม]]
* ช่วยบรรเทาโรคที่เกิดจากระบบประสาทและผิวหนัง
* ช่วยบรรเทาการคลื่นไส้อาเจียน
* ช่วยบรรเทาอาการปากแห้งและคอแห้ง
* ช่วยแก้การเป็น[[ตะคริว]] แขนขาชาและช่วยขับปัสสาวะ

== ภาวะการได้รับเกินขนาด ==
หากร่างกายได้รับวิตามินบี6 เกินกว่า 500 มิลลิกรัมต่อ 1 วันจะทำให้เกิดอาการหลายอย่าง เช่น เท้าชาและกระตุก กระสับกระส่ายเวลานอน ฝันเหมือนจริงมากเกินไป และมีปัญหาทางระบบประสาท<ref name="วิตามินบี6">[http://frynn.com/%e0%b8%a7%e0%b8%b4%e0%b8%95%e0%b8%b2%e0%b8%a1%e0%b8%b4%e0%b8%99%e0%b8%9a%e0%b8%b56/ วิตามินบี6], วันที่สืบค้น 19 เมษายน 2559 จาก www.frynn.com.</ref>

== แหล่งที่พบ ==
ปลา ไข่ ตับ ข้าวไม่ขัดสี จมูกข้าวสาลี รำข้าว ข้าวโอ๊ต วอลนัท ถั่วเหลือง ถั่วลิสง บริวเวอร์ยีสต์ กากน้ำตาล กะหล่ำปลี แคนตาลูป<ref name="วิตามินบี6" />


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
* นิตยสารชีวจิต ฉบับวันที่ 1 พฤษภาคม 2550
* นิตยสารชีวจิต ฉบับวันที่ 1 พฤษภาคม 2550


บรรทัด 26: บรรทัด 33:


[[หมวดหมู่:วิตามิน|บี6]]
[[หมวดหมู่:วิตามิน|บี6]]
[[หมวดหมู่:วิตามินที่ละลายในน้ำได้]]
{{โครงชีวเคมี}}
{{โครงชีวเคมี}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 04:53, 19 เมษายน 2559

วิตามินบี6 (อังกฤษ: vitamin B6) หรือ ไพริดอกซิน (อังกฤษ: Pyridoxine) เป็นวิตามินชนิดที่ละลายในน้ำได้[1] ซึ่งมักใช้ร่วมกับบี1 และบี12 ซึ่งวิตามินบี1 ทำงานกับคาร์โบไฮเดรตส่วนวิตามินบี6 และบี12 ทำงานร่วมกับโปรตีนและไขมัน ร่างกายมนุษย์ต้องการวิตามินบี6 ประมาณ 1.5 มิลลิกรัม

รูปแบบ

ปัจจุบันค้นพบว่าวิตามินบี6 มีหลายรูปแบบ ได้แก่

ประโยชน์

  • ช่วยเปลี่ยนกรดอะมิโนให้เป็นวิตามินบี3 หรือไนอะซิน
  • ช่วยร่างกายสร้างภูมิต้านทานแอนติบอดี และช่วยสร้างเซลล์โลหิตได้ดียิ่งขึ้น
  • ช่วยร่างกายสร้างน้ำย่อยในกระเพาะอาหารและแร่ธาตุแมกนีเซียม
  • ช่วยบรรเทาโรคที่เกิดจากระบบประสาทและผิวหนัง
  • ช่วยบรรเทาการคลื่นไส้อาเจียน
  • ช่วยบรรเทาอาการปากแห้งและคอแห้ง
  • ช่วยแก้การเป็นตะคริว แขนขาชาและช่วยขับปัสสาวะ

ภาวะการได้รับเกินขนาด

หากร่างกายได้รับวิตามินบี6 เกินกว่า 500 มิลลิกรัมต่อ 1 วันจะทำให้เกิดอาการหลายอย่าง เช่น เท้าชาและกระตุก กระสับกระส่ายเวลานอน ฝันเหมือนจริงมากเกินไป และมีปัญหาทางระบบประสาท[2]

แหล่งที่พบ

ปลา ไข่ ตับ ข้าวไม่ขัดสี จมูกข้าวสาลี รำข้าว ข้าวโอ๊ต วอลนัท ถั่วเหลือง ถั่วลิสง บริวเวอร์ยีสต์ กากน้ำตาล กะหล่ำปลี แคนตาลูป[2]

อ้างอิง

  1. สารอาหารประเภทวิตามิน, วันที่สืบค้น 19 เมษายน 2559 จาก www.siripansiri.wordpress.com.
  2. 2.0 2.1 วิตามินบี6, วันที่สืบค้น 19 เมษายน 2559 จาก www.frynn.com.
  • นิตยสารชีวจิต ฉบับวันที่ 1 พฤษภาคม 2550