ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ทรูมูฟ เอช"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
แมนเชสเตอร์ ยูไนเต็ด→แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด
Joe
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{ล้าสมัย}}'''ทรูมูฟ เอช''' () หรือ '''บริษัท เรียลมูฟ จำกัด''' (Real Move Co., Ltd) และ '''บริษัท ทรูมูฟ เอช ยูนิเวอร์แซล คอมมิวนิเคชั่น จำกัด''' (TrueMove H Universal Communication Co., Ltd) เป็นบริษัทในเครือของ บริษัท ทรู คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) ที่ทำธุรกิจให้บริการโทรศัพท์มือถือรายหนึ่งในประเทศไทย โดยเป็นตัวแทนขายส่งต่อบริการของ กสท. โทรคมนาคม เดิมคือเครือข่ายฮัทซ์ ของบริษัท ฮัทจิสัน ซีเอที ไวร์เลส มัลติมีเดีย จำกัด ที่ถูกกลุ่มทรู คอร์ปอเรชั่น เข้าซื้อกิจการโดยผ่านความเห็นชอบจากกสท. โทรคมนาคม และได้รับอนุญาตในการดำเนินการโครงข่ายโทรศัพท์มือถือระยะที่ 3 '''(3G)''' บนเครือข่ายดับเบิลยูซีดีเอ็มเอ 850 เมกกะเฮิตซ์ บนช่วงความถี่ 15 เมกกะเฮิตซ์ ที่ถือว่ามากที่สุดในกลุ่มผู้ให้บริการในปัจจุบัน (รวมทรูมูฟ) และยังได้รับใบอนุญาตในการดำเนินการโครงข่ายโทรศัพท์มือถือบนเครือข่ายดับเบิลยูซีดีเอ็มเอ 2100 เมกกะเฮิตซ์ บนช่วงความถี่ 15 เมกกะเฮิตซ์ จาก กสทช. เพื่อมาดำเนินการโครงข่ายโทรศัพท์มือถือระยะที่ 3 และโครงข่ายโทรศัพท์มือถือระยะที่ 4 '''(4G LTE)''' โดยเครือข่าย ทรูมูฟ-เอช กับ ทรูมูฟ ในทางธุรกิจโทรคมนาคมจะถือว่าเป็นคนละเครือข่ายกัน แต่ทั้งสองเครือข่ายมีวิธีดำเนินการเหมือนกันทุกประการ ปัจจุบัน เมื่ออิงตามยอดผู้ใช้งาน ทรูมูฟ เอช เป็นผู้ให้บริการโครงข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ อันดับที่ 2 ของประเทศ
{{ล้าสมัย}}
{{กล่องข้อมูล บริษัท
|company_name = บริษัท เรียลมูฟ จำกัด<br>บริษัท ทรูมูฟ เอช ยูนิเวอร์แซล คอมมิวนิเคชั่น จำกัด
|company_logo = TrueMove 2009Logo.png
|company_type = [[บริษัทจำกัด]]
|foundation = [[สิงหาคม]] [[พ.ศ. 2554]]
|location = 18 อาคารทรู ทาวเวอร์ [[ถนนรัชดาภิเษก]] [[แขวงห้วยขวาง]] [[เขตห้วยขวาง]] [[กรุงเทพมหานคร]]
|key_people = [[ภาสกร หงส์ไกลเกรียง]] [[กรรมการผู้จัดการใหญ่]]
|industry = [[โทรคมนาคม]], [[กองทุนรวม]]
|num_employees =
| products = [[HSDPA]], [[HSUPA]], [[3G]], [[4G]] ([[LTE]])
|revenue =
|company_slogan = เครือข่ายที่ 1 ในใจคุณ
|homepage = http://truemoveh.truecorp.co.th
}}

'''ทรูมูฟ เอช''' ({{lang-en|TrueMove H}}) หรือ '''บริษัท เรียลมูฟ จำกัด''' (Real Move Co., Ltd) และ '''บริษัท ทรูมูฟ เอช ยูนิเวอร์แซล คอมมิวนิเคชั่น จำกัด''' (TrueMove H Universal Communication Co., Ltd) เป็นบริษัทในเครือของ [[ทรู คอร์ปอเรชั่น|บริษัท ทรู คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน)]] ที่ทำธุรกิจให้บริการโทรศัพท์มือถือรายหนึ่งในประเทศไทย โดยเป็นตัวแทนขายส่งต่อบริการของ [[กสท. โทรคมนาคม]] เดิมคือเครือข่ายฮัทซ์ ของบริษัท ฮัทจิสัน ซีเอที ไวร์เลส มัลติมีเดีย จำกัด ที่ถูกกลุ่มทรู คอร์ปอเรชั่น เข้าซื้อกิจการโดยผ่านความเห็นชอบจากกสท. โทรคมนาคม<ref>[http://www.bangkokbiznews.com/home/detail/it/it/20110105/370299/%E0%B8%97%E0%B8%A3%E0%B8%B9%E0%B8%8B%E0%B8%B7%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%AE%E0%B8%B1%E0%B8%97%E0%B8%8A%E0%B9%8C%E0%B8%94%E0%B8%B5%E0%B8%A5%E0%B8%AE%E0%B8%AD%E0%B8%956,300%E0%B8%A5%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%9B%E0%B8%B4%E0%B8%94%E0%B8%97%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%9B%E0%B8%B5%E0%B9%80%E0%B8%AA%E0%B8%B7%E0%B8%AD.html ทรูซื้อฮัทช์ดีลฮอต6,300ล้านปิดท้ายปีเสือ]</ref> และได้รับอนุญาตในการดำเนินการโครงข่ายโทรศัพท์มือถือระยะที่ 3 '''(3G)''' บนเครือข่ายดับเบิลยูซีดีเอ็มเอ 850 เมกกะเฮิตซ์ บนช่วงความถี่ 15 เมกกะเฮิตซ์ ที่ถือว่ามากที่สุดในกลุ่มผู้ให้บริการในปัจจุบัน (รวมทรูมูฟ) และยังได้รับใบอนุญาตในการดำเนินการโครงข่ายโทรศัพท์มือถือบนเครือข่ายดับเบิลยูซีดีเอ็มเอ 2100 เมกกะเฮิตซ์ บนช่วงความถี่ 15 เมกกะเฮิตซ์ จาก กสทช. เพื่อมาดำเนินการโครงข่ายโทรศัพท์มือถือระยะที่ 3 และโครงข่ายโทรศัพท์มือถือระยะที่ 4 '''(4G LTE)''' โดยเครือข่าย ทรูมูฟ-เอช กับ ทรูมูฟ ในทางธุรกิจโทรคมนาคมจะถือว่าเป็นคนละเครือข่ายกัน แต่ทั้งสองเครือข่ายมีวิธีดำเนินการเหมือนกันทุกประการ ปัจจุบัน เมื่ออิงตามยอดผู้ใช้งาน [[ทรูมูฟ เอช]] เป็นผู้ให้บริการโครงข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ อันดับที่ 2 ของประเทศ


== ผลิตภัณฑ์ และ บริการ ==
== ผลิตภัณฑ์ และ บริการ ==
บรรทัด 21: บรรทัด 5:
ทรูมูฟ เอช ให้บริการโครงข่ายโทรศัพท์มือถือ 3G บนคลื่นความถี่ 850 MHz และ 2100 MHz และโครงข่าย 4G LTE บนคลื่นความถี่ 2100 MHz ซึ่งความถี่ 850 MHz เป็นคลื่นความถี่ต่ำสามารถส่งสัญญาณครอบคลุมพื้นที่ในวงกว้างและทั่วถึง ส่วนคลื่น 2100 MHz ซึ่งเป็นคลื่นความถี่สูง ใช้ได้ดีในจุดที่มีการใช้งานหนาแน่น นอกจากนี้ยังมีบริการ WiFi ผ่านระบบ Auto Login หรือเชื่อมต่อแบบอัตโนมัติ ด้วยความเร็วสูงสุด 200 Mbps ผ่าน WiFi hotspots มากกว่า 100,000 จุดทั่วประเทศ
ทรูมูฟ เอช ให้บริการโครงข่ายโทรศัพท์มือถือ 3G บนคลื่นความถี่ 850 MHz และ 2100 MHz และโครงข่าย 4G LTE บนคลื่นความถี่ 2100 MHz ซึ่งความถี่ 850 MHz เป็นคลื่นความถี่ต่ำสามารถส่งสัญญาณครอบคลุมพื้นที่ในวงกว้างและทั่วถึง ส่วนคลื่น 2100 MHz ซึ่งเป็นคลื่นความถี่สูง ใช้ได้ดีในจุดที่มีการใช้งานหนาแน่น นอกจากนี้ยังมีบริการ WiFi ผ่านระบบ Auto Login หรือเชื่อมต่อแบบอัตโนมัติ ด้วยความเร็วสูงสุด 200 Mbps ผ่าน WiFi hotspots มากกว่า 100,000 จุดทั่วประเทศ


บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ยุคที่สามหรือ [[3G]] ของทรูมูฟ เอช มีทั้งระบบรายเดือนและเติมเงิน (ระบบเติมเงิน เริ่มให้บริการเมื่อต้นปี 2555)<ref>[http://news.siamphone.com/news-05301.html TrueMove H เปิดตัวซิมเติมเงินกับบริการเติมเงินบนเครือข่าย 3G+]</ref> โดยมีความเร็วในการให้บริการถึง 42 เมกะบิต/วินาที (ขึ้นอยู่กับอุปกรณ์ที่ใช้งานและพื้นที่ให้บริการ) โดยใช้เทคโนโลยี HSPA+
บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ยุคที่สามหรือ 3G ของทรูมูฟ เอช มีทั้งระบบรายเดือนและเติมเงิน (ระบบเติมเงิน เริ่มให้บริการเมื่อต้นปี 2555) โดยมีความเร็วในการให้บริการถึง 42 เมกะบิต/วินาที (ขึ้นอยู่กับอุปกรณ์ที่ใช้งานและพื้นที่ให้บริการ) โดยใช้เทคโนโลยี HSPA+


ในระยะแรกของการให้บริการ (ตุลาคม 2554) ทรูมูฟ เอช ครอบคลุมพื้นที่กรุงเทพมหานคร และอีก 16 จังหวัด ได้แก่ สมุทรปราการ นนทบุรี ปทุมธานี นครปฐม สมุทรสาคร พระนครศรีอยุธยา ชลบุรี นครราชสีมา ขอนแก่น อุดรธานี เชียงใหม่ สุราษฎร์ธานี ภูเก็ต กระบี่ นครศรีธรรมราช และสงขลา<ref>[http://news.siamphone.com/news-04803.html ทรูมูฟ เอช ขยายบริการ 3G+ สูงสุด 42 Mbps ครอบคลุมรถไฟฟ้าใต้ดินตลอดเส้นทาง]</ref>
ในระยะแรกของการให้บริการ (ตุลาคม 2554) ทรูมูฟ เอช ครอบคลุมพื้นที่กรุงเทพมหานคร และอีก 16 จังหวัด ได้แก่ สมุทรปราการ นนทบุรี ปทุมธานี นครปฐม สมุทรสาคร พระนครศรีอยุธยา ชลบุรี นครราชสีมา ขอนแก่น อุดรธานี เชียงใหม่ สุราษฎร์ธานี ภูเก็ต กระบี่ นครศรีธรรมราช และสงขลา


ต่อมาจึงครอบคลุมในทุกๆ อำเภอเมือง และสถานที่ท่องเที่ยวสำคัญๆ ใน 76 จังหวัดทั่วประเทศไทย และครอบคลุมพื้นที่มากที่สุด ในเขตกรุงเทพมหานครปริมณฑล รวมทั้งยังครอบคลุมในจุดที่ลึกที่สุดของกรุงเทพมหานครอย่างโครงการ[[รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล]]อีกด้วย แต่นอกเหนือจากนี้จะให้บริการผ่านการใช้งานข้ามเครือข่าย หรือโรมมิ่งกับทรูมูฟแทน
ต่อมาจึงครอบคลุมในทุกๆ อำเภอเมือง และสถานที่ท่องเที่ยวสำคัญๆ ใน 76 จังหวัดทั่วประเทศไทย และครอบคลุมพื้นที่มากที่สุด ในเขตกรุงเทพมหานครปริมณฑล รวมทั้งยังครอบคลุมในจุดที่ลึกที่สุดของกรุงเทพมหานครอย่างโครงการรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลอีกด้วย แต่นอกเหนือจากนี้จะให้บริการผ่านการใช้งานข้ามเครือข่าย หรือโรมมิ่งกับทรูมูฟแทน


ณ เดือนเมษายน 2556 ทรูมูฟ เอช ให้บริการ 3G ที่ครอบคลุมทั่วไทยครบทั้ง 77 จังหวัด 928 อำเภอ 7,394 ตำบล และ 67,615 หมู่บ้าน<ref>[http://truemoveh.truecorp.co.th/coverage พื้นที่ให้บริการ 3G 850/2100 Mhz.]</ref>
ณ เดือนเมษายน 2556 ทรูมูฟ เอช ให้บริการ 3G ที่ครอบคลุมทั่วไทยครบทั้ง 77 จังหวัด 928 อำเภอ 7,394 ตำบล และ 67,615 หมู่บ้าน


นอกจากนี้ ทรูมูฟ เอช ยังมีอุปกรณ์โทรศัพท์เคลื่อนที่ รุ่น Go Live<ref>[http://truemoveh.truecorp.co.th/product/detail/373 GO Live 3031 สีดำ]</ref><ref>[http://store.truecorp.co.th/product/detail/523 GO Live 3031 สีขาว]</ref><ref>[http://truemoveh.truecorp.co.th/product/detail/1078 GO Live 2]</ref> สมาร์ทโฟนระบบปฏิบัติการ[[แอนดรอยด์ (ระบบปฏิบัติการ)|แอนดรอยด์]] รุ่น Go Live<ref>[http://truemoveh.truecorp.co.th/product/detail/436 GO Live S1]</ref><ref>[http://truemoveh.truecorp.co.th/product/detail/1077 GO Live S2]</ref><ref>[http://truemoveh.truecorp.co.th/product/detail/1076 GO Live Dual Core]</ref> ทรู บียอนด์ (TRUE BEYOND)<ref>[http://truemoveh.truecorp.co.th/product/detail/1337 TRUE BEYOND 3G]</ref><ref>[http://truemoveh.truecorp.co.th/product/detail/1231 TRUE BEYOND TAB]</ref><ref>[http://truemoveh.truecorp.co.th/product/detail/1232 TRUE Beyond 4G]</ref><ref>[http://truemoveh.truecorp.co.th/product/detail/1398 TRUE Beyond 4G (เครื่องแมนยู)]</ref> และอุปกรณ์เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต (แอร์การ์ด) ทั้งในระบบ 3G<ref>[http://truemoveh.truecorp.co.th/product/detail/517 Aircard 3G 7.2 Mbps.]</ref><ref>[http://truemoveh.truecorp.co.th/product/detail/1109 Aircard 3G 21 Mbps.]</ref> และ 4G LTE<ref>[http://truemoveh.truecorp.co.th/product/detail/1414 Aircard 4G LTE]</ref><ref>[http://truemoveh.truecorp.co.th/product/detail/1400 Aircard 4G LTE (รุ่นแมนยู)]</ref> รวมถึงโทรศัพท์มือถือของผู้ผลิตต่างๆ เข้ามาจำหน่ายอีกด้วย
นอกจากนี้ ทรูมูฟ เอช ยังมีอุปกรณ์โทรศัพท์เคลื่อนที่ รุ่น Go Live สมาร์ทโฟนระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ รุ่น Go Live ทรู บียอนด์ (TRUE BEYOND) และอุปกรณ์เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต (แอร์การ์ด) ทั้งในระบบ 3G และ 4G LTE รวมถึงโทรศัพท์มือถือของผู้ผลิตต่างๆ เข้ามาจำหน่ายอีกด้วย


โดยโครงข่ายที่ทรูมูฟ เอช นำมาให้บริการเป็นโครงข่ายรหัส 520-00 ของ กสท. โทรคมนาคม โดยตรง โดยเรียลมูฟรับหน้าที่ในการดำเนินการติดตั้งอุปกรณ์กระจายสัญญาณ ร่วมถึงพัฒนาระบบร่วมกันกับกสท. โทรคมนาคม แต่ในลักษณะของการให้บริการ ทรูมูฟ เอชจะได้เนื้อที่ในโครงข่ายเพียง 80% จากทั้งหมด ส่วนที่เหลือ กสท. โทรคมนาคม จะนำไปเปิดให้บริการ 3G ของตนเองในแบรนด์ My
โดยโครงข่ายที่ทรูมูฟ เอช นำมาให้บริการเป็นโครงข่ายรหัส 520-00 ของ กสท. โทรคมนาคม โดยตรง โดยเรียลมูฟรับหน้าที่ในการดำเนินการติดตั้งอุปกรณ์กระจายสัญญาณ ร่วมถึงพัฒนาระบบร่วมกันกับกสท. โทรคมนาคม แต่ในลักษณะของการให้บริการ ทรูมูฟ เอชจะได้เนื้อที่ในโครงข่ายเพียง 80% จากทั้งหมด ส่วนที่เหลือ กสท. โทรคมนาคม จะนำไปเปิดให้บริการ 3G ของตนเองในแบรนด์ My
บรรทัด 35: บรรทัด 19:
นอกจากนี้ทรูมูฟ เอช ยังมีโครงข่ายรหัส 520-04 ที่เป็นของเรียลฟิวเจอร์ สำหรับให้บริการโครงข่าย 3G คลื่นความถี่ 2100 เมกกะเฮิตซ์ และให้บริการโครงข่าย 4G LTE บนคลื่นความถี่ 2100 เมกกะเฮิตซ์เช่นกัน โดยทั้งสองระบบบนคลื่น 2100 เมกกะเฮิตซ์นี้ จะทำหน้านี้ในการดำเนินการต่างกันเล็กน้อย คือคลื่น 3G 2100 เมกกะเฮิตซ์ จะเอามาขยายสัญญาณ 3G ที่มีอยู่เดิมของ 520-00 ให้เข้มมากขึ้น และเพื่อให้รองรับอุปกรณ์ต่างๆ ได้เพิ่มมากขึ้น ส่วนคลื่น LTE 2100 เมกกะเฮิตซ์ จะเป็นการแบ่งคลื่นจาก 3G 2100 เมกกะเฮิตซ์บางส่วน เพื่อให้บริการในหัวเมืองหลัก ที่ต้องการความเร็วในการใช้งานค่อนข้างสูง และทั้ง 3 คลื่น จะโรมมิ่งสลับกันไปมา ตามแต่ละพื้นที่ที่ให้บริการได้
นอกจากนี้ทรูมูฟ เอช ยังมีโครงข่ายรหัส 520-04 ที่เป็นของเรียลฟิวเจอร์ สำหรับให้บริการโครงข่าย 3G คลื่นความถี่ 2100 เมกกะเฮิตซ์ และให้บริการโครงข่าย 4G LTE บนคลื่นความถี่ 2100 เมกกะเฮิตซ์เช่นกัน โดยทั้งสองระบบบนคลื่น 2100 เมกกะเฮิตซ์นี้ จะทำหน้านี้ในการดำเนินการต่างกันเล็กน้อย คือคลื่น 3G 2100 เมกกะเฮิตซ์ จะเอามาขยายสัญญาณ 3G ที่มีอยู่เดิมของ 520-00 ให้เข้มมากขึ้น และเพื่อให้รองรับอุปกรณ์ต่างๆ ได้เพิ่มมากขึ้น ส่วนคลื่น LTE 2100 เมกกะเฮิตซ์ จะเป็นการแบ่งคลื่นจาก 3G 2100 เมกกะเฮิตซ์บางส่วน เพื่อให้บริการในหัวเมืองหลัก ที่ต้องการความเร็วในการใช้งานค่อนข้างสูง และทั้ง 3 คลื่น จะโรมมิ่งสลับกันไปมา ตามแต่ละพื้นที่ที่ให้บริการได้


ทรูมูฟ เอชเปิดให้บริการ 4G LTE เป็นรายแรกในประเทศไทย<ref>[http://hitech.sanook.com/1368686/%E0%B9%80%E0%B8%9B%E0%B8%B4%E0%B8%94%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%94%E0%B9%87%E0%B8%99%E0%B8%A3%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%99-3g-%E0%B8%84%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B9%84%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%AD%E0%B8%9A%E0%B8%84%E0%B8%A5%E0%B8%B8%E0%B8%A1%E0%B8%A1%E0%B8%B2%E0%B8%81%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%AA%E0%B8%B8%E0%B8%94/ เปิดประเด็นร้อน 3G ค่ายไหนครอบคลุมมากที่สุด]</ref><ref>[http://truemoveh.truecorp.co.th/truemoveh4g#pane07 บริการ 4G ของทรูมฟ เอช]</ref> โดยเริ่มให้ทดลองใช้ได้ เมื่อเดือนกุมภาพันธ์ 2556 และเมื่อวันที่ 8 พฤษภาคม 2556 ทรูมูฟ เอช ได้แถลงข่าวเปิดตัวสโลแกนใหม่ The Best 3G And The First 4G พร้อมเปิดตัวบริการ 4G LTE เชิงพาณิชย์เป็นรายแรก (โดยการแบ่งคลื่น 2100 MHz ที่ได้จากการประมูล 3G บางส่วน เป็นช่วงความถี่กว้าง 10 MHz) ให้บริการที่ความเร็วดาวน์โหลด 100 Mbps และอัปโหลด 50Mbps<ref>[http://news.siamphone.com/news-12208.html Truemove H รุดหน้าเปิดบริการ 4G LTE บนคลื่น 2100 MHz รายแรกในไทย]</ref><ref>[http://truemoveh.truecorp.co.th/truemoveh4g เว็บไซต์ทรูมูฟเอช 4G LTE]</ref> โดยในช่วงแรกจะเปิดให้บริการใจกลางกรุงเทพมหานคร ก่อนขยายออกไปครอบคลุมทั่วกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล (นนทบุรี ปทุมธานี สมุทรปราการ) รวมถึงอีก 13 หัวเมือง ประกอบไปด้วย [[จังหวัดขอนแก่น|ขอนแก่น]], [[จังหวัดเชียงใหม่|เชียงใหม่]], [[อำเภอชะอำ|ชะอำ]]-[[อำเภอหัวหิน|หัวหิน]], [[จังหวัดชลบุรี|ชลบุรี]], [[จังหวัดนครปฐม|นครปฐม]], [[จังหวัดนครราชสีมา|นครราชสีมา]], ([[อำเภอเมืองนครราชสีมา|อ.เมืองนครราชสีมา]] [[อำเภอปากช่อง|อ.ปากช่อง]]), [[จังหวัดนครศรีธรรมราช|นครศรีธรรมราช]], [[จังหวัดพิษณุโลก|พิษณุโลก]], [[จังหวัดภูเก็ต|ภูเก็ต]], [[จังหวัดสงขลา|สงขลา]] ([[อำเภอเมืองสงขลา|อ.เมืองสงขลา]], อำเภอหาดใหญ่), [[จังหวัดสุราษฏร์ธานี|สุราษฏร์ธานี]] ([[อำเภอเมืองสุราษฎร์ธานี|อ.เมืองสุราษฎร์ธานี]], [[อำเภอเกาะสมุย|เกาะสมุย]]), [[จังหวัดอุบลราชธานี|อุบลราชธานี]] และ[[จังหวัดพระนครศรีอยุธยา|อยุธยา]] ภายในสิ้นปี 2556<ref>[http://truemoveh.truecorp.co.th/coverage4g พื้นที่ให้บริการ 4G LTE]</ref>
ทรูมูฟ เอชเปิดให้บริการ 4G LTE เป็นรายแรกในประเทศไทย โดยเริ่มให้ทดลองใช้ได้ เมื่อเดือนกุมภาพันธ์ 2556 และเมื่อวันที่ 8 พฤษภาคม 2556 ทรูมูฟ เอช ได้แถลงข่าวเปิดตัวสโลแกนใหม่ The Best 3G And The First 4G พร้อมเปิดตัวบริการ 4G LTE เชิงพาณิชย์เป็นรายแรก (โดยการแบ่งคลื่น 2100 MHz ที่ได้จากการประมูล 3G บางส่วน เป็นช่วงความถี่กว้าง 10 MHz) ให้บริการที่ความเร็วดาวน์โหลด 100 Mbps และอัปโหลด 50Mbps โดยในช่วงแรกจะเปิดให้บริการใจกลางกรุงเทพมหานคร ก่อนขยายออกไปครอบคลุมทั่วกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล (นนทบุรี ปทุมธานี สมุทรปราการ) รวมถึงอีก 13 หัวเมือง ประกอบไปด้วย ขอนแก่น, เชียงใหม่, ชะอำ-หัวหิน, ชลบุรี, นครปฐม, นครราชสีมา, (อ.เมืองนครราชสีมา อ.ปากช่อง), นครศรีธรรมราช, พิษณุโลก, ภูเก็ต, สงขลา (อ.เมืองสงขลา, อำเภอหาดใหญ่), สุราษฏร์ธานี (อ.เมืองสุราษฎร์ธานี, เกาะสมุย), อุบลราชธานี และอยุธยา ภายในสิ้นปี 2556


ต้นปี 2557 ทรูมุฟ เอช ขยายจุดบริการ 4G LTE ครอบคลุมใจกลางเมือง 14 จังหวัด พร้อมแหล่งท่องเที่ยวยอดนิยม และจุดเชื่อมต่อชายแดน<ref>[http://truemoveh.truecorp.co.th/truemoveh4g#pane07 พื้นที่ให้บริการ 4G LTE ของทรูมฟ เอช]</ref>
ต้นปี 2557 ทรูมุฟ เอช ขยายจุดบริการ 4G LTE ครอบคลุมใจกลางเมือง 14 จังหวัด พร้อมแหล่งท่องเที่ยวยอดนิยม และจุดเชื่อมต่อชายแดน


ส่วนเครือข่าย 3G ของทรูมูฟ เอช บนความถี่ 850/2100 MHz ให้บริการครอบคลุมมากที่สุดในประเทศไทย<ref>[http://truemoveh.truecorp.co.th/coverage พื้นที่ให้บริการ 3G ของทรูมูฟ เอช]</ref>
ส่วนเครือข่าย 3G ของทรูมูฟ เอช บนความถี่ 850/2100 MHz ให้บริการครอบคลุมมากที่สุดในประเทศไทย


ทรูมูฟ เอช ยังมีบริการ WiFi เพื่อเสริมประสิทธิภาพการใช้งาน 3G ในบางจุด ด้วยความเร็วสูงสุด 200 Mbps* ผ่าน WiFi hotspots มากกว่า 100,000 จุดทั่วประเทศ<ref>[http://truemoveh.truecorp.co.th/wifi/entry/2365 Wi-Fi by TrueMove H]</ref>
ทรูมูฟ เอช ยังมีบริการ WiFi เพื่อเสริมประสิทธิภาพการใช้งาน 3G ในบางจุด ด้วยความเร็วสูงสุด 200 Mbps* ผ่าน WiFi hotspots มากกว่า 100,000 จุดทั่วประเทศ


เดือนกันยายน 2556 ทรูมูฟ เอช ออกภาพยนตร์โฆษณาเรื่อง “การให้ คือการสื่อสารที่ดีที่สุด" ซึ่งกลายเป็น ทอล์ค ออฟ เดอะ ทาวน์ หรือมีการพูดถึงมากที่สุด มีการแชร์ผ่านสังคมออน์ไลน์จำนวนมาก โดยหลังจากอัปโหลดในยูทูป 5 วัน มียอดเข้าชมสูงถึง 3 ล้านกว่าครั้ง และมากกว่า 10 ล้านครั้งในอีกสองสามวันถัดมา ทำให้ได้รับกระแสตอบรับและคำชมจากผู้ชมทั่วโลก ที่รวมถึงสื่อต่างประเทศที่เขียนแนะนำผ่านบทความต่าง ๆ จำนวนมากอีกด้วย นอกจากนี้ ผู้บริหารสื่อดัง ๆ ของโลกอย่างเช่น Vic Gundotra ผู้บริหาร Google และ Tim O’Reilly ผู้บริหาร O’Reilly Media สองผู้ทรงอิทธิพลในโลก IT ก็ชื่นชอบโฆษณาตัวนี้จนนำไปแชร์ลงหน้า Google+ ของตัวเองด้วย<ref>[http://www.shopat7.com/shopping-online/ad-truemove-h.html ทรูมูฟ เอช " การให้ คือการสื่อสารที่ดีที่สุด " TrueMove H : Giving]</ref>
เดือนกันยายน 2556 ทรูมูฟ เอช ออกภาพยนตร์โฆษณาเรื่อง “การให้ คือการสื่อสารที่ดีที่สุด" ซึ่งกลายเป็น ทอล์ค ออฟ เดอะ ทาวน์ หรือมีการพูดถึงมากที่สุด มีการแชร์ผ่านสังคมออน์ไลน์จำนวนมาก โดยหลังจากอัปโหลดในยูทูป 5 วัน มียอดเข้าชมสูงถึง 3 ล้านกว่าครั้ง และมากกว่า 10 ล้านครั้งในอีกสองสามวันถัดมา ทำให้ได้รับกระแสตอบรับและคำชมจากผู้ชมทั่วโลก ที่รวมถึงสื่อต่างประเทศที่เขียนแนะนำผ่านบทความต่าง ๆ จำนวนมากอีกด้วย นอกจากนี้ ผู้บริหารสื่อดัง ๆ ของโลกอย่างเช่น Vic Gundotra ผู้บริหาร Google และ Tim O’Reilly ผู้บริหาร O’Reilly Media สองผู้ทรงอิทธิพลในโลก IT ก็ชื่นชอบโฆษณาตัวนี้จนนำไปแชร์ลงหน้า Google+ ของตัวเองด้วย


วันที่ 18 มิถุนายน 2557 ทรูมูฟ เอช เปิดตัวแคมเปญ “เครือข่าย 3G ที่ 1 ของเรา ครอบคลุมที่ 1 ทั่วไทย”<ref>[http://www.truemove-h.com/truenumber1 เครือข่าย 3G ที่ 1 ครอบคลุมที่ 1 ทั่วไทย]</ref>
วันที่ 18 มิถุนายน 2557 ทรูมูฟ เอช เปิดตัวแคมเปญ “เครือข่าย 3G ที่ 1 ของเรา ครอบคลุมที่ 1 ทั่วไทย”


ทรูมูฟ เอช ได้ใช้ศิลปินนักร้องจากรายการ[[ทรู อะคาเดมี่ แฟนเทเชีย]] และนักแสดงของไทยที่มีชื่อเสียงโด่งดังมาเป็นพรีเซ็นต์เตอร์ในภาพยนตร์โฆษณา อาทิ [[ณเดชน์ คูกิมิยะ]], [[อุรัสยา เสปอร์บันด์]], [[ปกรณ์ ฉัตรบริรักษ์]], [[ราศรี บาเลนซิเอก้า]], [[เจมส์ มาร์]] รวมไปถึงศิลปินชื่อดังจากต่างชาติ อาทิ [[เกิลส์เจเนอเรชัน]] และทีมปีศาจแดง [[สโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด|แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด]] เป็นต้น
ทรูมูฟ เอช ได้ใช้ศิลปินนักร้องจากรายการทรู อะคาเดมี่ แฟนเทเชีย และนักแสดงของไทยที่มีชื่อเสียงโด่งดังมาเป็นพรีเซ็นต์เตอร์ในภาพยนตร์โฆษณา อาทิ ณเดชน์ คูกิมิยะ, อุรัสยา เสปอร์บันด์, ปกรณ์ ฉัตรบริรักษ์, ราศรี บาเลนซิเอก้า, เจมส์ มาร์ รวมไปถึงศิลปินชื่อดังจากต่างชาติ อาทิ เกิลส์เจเนอเรชัน และทีมปีศาจแดง แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด เป็นต้น


ตอนนี้ค่ายนี้ดูจะมีความสุขที่สุด เพราะมีคลื่นความถี่มารองรับหลังสัญญาสัมปทานที่จะหมดในปี 2556 สองย่าน คือ ที่ความถี่ 850 MHz ความกว้าง 15 MHz มีอายุถึงปี [[พ.ศ. 2568]] และความถี่ 2100 MHz ความกว้าง 15 MHz มีอายุถึงปี [[พ.ศ. 2570]] รวมแล้วมีถึง 30 MHz ในการให้บริการ 3G และล่าสุดความไม่แน่นอนในการทำสัญญา 3G รูปแบบใหม่กับ CAT มีความชัดเจนขึ้นเป็นลำดับว่าเป็นสัญญาที่ไม่เป็นโมฆะ เมื่อมีการปรับปรุงแก้ไขสัญญาบางข้อสามารถดำเนินธุรกิจต่อได้เลย ทำให้เป็นผู้ประกอบการเครือข่าย 3G ที่ได้เปรียบรายอื่นที่สุดในเวลานี้
ตอนนี้ค่ายนี้ดูจะมีความสุขที่สุด เพราะมีคลื่นความถี่มารองรับหลังสัญญาสัมปทานที่จะหมดในปี 2556 สองย่าน คือ ที่ความถี่ 850 MHz ความกว้าง 15 MHz มีอายุถึงปี พ.ศ. 2568 และความถี่ 2100 MHz ความกว้าง 15 MHz มีอายุถึงปี พ.ศ. 2570 รวมแล้วมีถึง 30 MHz ในการให้บริการ 3G และล่าสุดความไม่แน่นอนในการทำสัญญา 3G รูปแบบใหม่กับ CAT มีความชัดเจนขึ้นเป็นลำดับว่าเป็นสัญญาที่ไม่เป็นโมฆะ เมื่อมีการปรับปรุงแก้ไขสัญญาบางข้อสามารถดำเนินธุรกิจต่อได้เลย ทำให้เป็นผู้ประกอบการเครือข่าย 3G ที่ได้เปรียบรายอื่นที่สุดในเวลานี้


ล่าสุดผู้บริหาร TrueMove ให้ข้อมูลว่ามีสถานีฐานที่รองรับเครือข่าย 3G บนคลื่น 850 MHz ประมาณ 13,000 สถานี ซึ่งสามารถให้บริการครอบคลุมถึง 51,161 หมู่บ้านแล้ว แม้จะมีพื้นที่ให้บริการ 3G ครอบคลุมทั้งประเทศที่ย่าน 850 MHz แต่ค่ายนี้ก็ไม่สามารถละเลยที่จะไม่ลงทุนโครงข่ายในย่านความถี่ 2100 MHz เนื่องด้วยติดเงื่อนไขการประมูลที่ต้องปฏิบัติตาม โดยเราจะเห็นการลงทุนและติดตั้งอุปกรณ์ย่านความถี่ 2100 MHz ที่เน้นในกรุงเทพฯ และหัวเมืองหลักเท่านั้น โดยอุปกรณ์ที่ลงสามารถปรับเปลี่ยนจากเทคโนโลยี 3G เป็น 4G ได้เลย
ล่าสุดผู้บริหาร TrueMove ให้ข้อมูลว่ามีสถานีฐานที่รองรับเครือข่าย 3G บนคลื่น 850 MHz ประมาณ 13,000 สถานี ซึ่งสามารถให้บริการครอบคลุมถึง 51,161 หมู่บ้านแล้ว แม้จะมีพื้นที่ให้บริการ 3G ครอบคลุมทั้งประเทศที่ย่าน 850 MHz แต่ค่ายนี้ก็ไม่สามารถละเลยที่จะไม่ลงทุนโครงข่ายในย่านความถี่ 2100 MHz เนื่องด้วยติดเงื่อนไขการประมูลที่ต้องปฏิบัติตาม โดยเราจะเห็นการลงทุนและติดตั้งอุปกรณ์ย่านความถี่ 2100 MHz ที่เน้นในกรุงเทพฯ และหัวเมืองหลักเท่านั้น โดยอุปกรณ์ที่ลงสามารถปรับเปลี่ยนจากเทคโนโลยี 3G เป็น 4G ได้เลย


โครงข่าย 4G LTE ในปี 2556 มีสองย่าน บนคลื่นความถี่ 850 และ 2100 MHz ในปี 2559 สี่คลื่น คือ ความถี่ 850 900 1800 และ 2100 MHz เมื่อความถี่ 1800 MHz ความกว้าง 15 MHz มีอายุถึงปี [[พ.ศ. 2576]]
โครงข่าย 4G LTE ในปี 2556 มีสองย่าน บนคลื่นความถี่ 850 และ 2100 MHz ในปี 2559 สี่คลื่น คือ ความถี่ 850 900 1800 และ 2100 MHz เมื่อความถี่ 1800 MHz ความกว้าง 15 MHz มีอายุถึงปี พ.ศ. 2576


== คลื่นความถี่ที่ใช้งาน ==
== คลื่นความถี่ที่ใช้งาน ==
บรรทัด 62: บรรทัด 46:
! คลื่นความถี่ !! หมายเลขช่องสัญญาณ !! จำนวนคลื่นความถี่ !! เทคโนโลยี !! ประเภท !! สถานะบริการ !! เปิดให้บริการ !! ระยะเวลาดำเนินการ
! คลื่นความถี่ !! หมายเลขช่องสัญญาณ !! จำนวนคลื่นความถี่ !! เทคโนโลยี !! ประเภท !! สถานะบริการ !! เปิดให้บริการ !! ระยะเวลาดำเนินการ
|-
|-
| '''850'''&nbsp;MHz || 5 || 2x15 MHz || [[UMTS]]/[[HSPA+|DC-HSPA+]] || [[3G]] ||กำลังให้บริการ || 8 พ.ค. พ.ศ. 2556 || สิ้นสุด พ.ศ. 2568 (สัญญาเช่า)
| '''850'''&nbsp;MHz || 5 || 2x15 MHz || UMTS/DC-HSPA+ ||[[3G]] ||กำลังให้บริการ || 8 พ.ค. พ.ศ. 2556 || สิ้นสุด พ.ศ. 2568 (สัญญาเช่า)
|-
|-
| '''2100'''&nbsp;MHz || 1 || 2x5 MHz || [[UMTS]]/[[HSPA+]] || [[3G]]
| '''2100'''&nbsp;MHz || 1 || 2x5 MHz || UMTS/HSPA+ ||[[3G]]
| rowspan="2" |กำลังให้บริการ|| 8 พ.ค. พ.ศ. 2556 ||rowspan="2"| สิ้นสุด พ.ศ. 2570 (ใบอนุญาต)
| rowspan="2" |กำลังให้บริการ|| 8 พ.ค. พ.ศ. 2556 ||rowspan="2"| สิ้นสุด พ.ศ. 2570 (ใบอนุญาต)
|-
|-
| '''2100'''&nbsp;MHz || 1 || 2x10 MHz || [[LTE (telecommunication)|LTE]]/VoLTE ||[[4G]] || 8 พ.ค. พ.ศ. 2556
| '''2100'''&nbsp;MHz || 1 || 2x10 MHz || LTE/VoLTE ||[[4G]] || 8 พ.ค. พ.ศ. 2556
|-
|-
| '''900'''&nbsp;MHz || 8 || 2x10 MHz ||[[LTE (telecommunication)|LTE]] || [[4G]] ||rowspan="2"| กำลังให้บริการ || 1 พ.ค. พ.ศ. 2559 || rowspan="2"| สิ้นสุด พ.ศ. 2574 (ใบอนุญาต)
| '''900'''&nbsp;MHz || 8 || 2x10 MHz ||LTE ||[[4G]] ||rowspan="2"| กำลังให้บริการ || 1 พ.ค. พ.ศ. 2559 || rowspan="2"| สิ้นสุด พ.ศ. 2574 (ใบอนุญาต)
|-
|-
| '''900'''&nbsp;MHz || 8 ||'''GiLTE''' <u>"GSM in LTE"</u>
| '''900'''&nbsp;MHz || 8 ||'''GiLTE''' <u>"GSM in LTE"</u>
| [[GSM]]/[[GPRS]]/[[EDGE]] || [[2G]] || พ.ศ. 2533
| GSM/GPRS/EDGE ||[[2G]] || พ.ศ. 2533
|-
|-
| '''1800'''&nbsp;MHz || 3 || 2x15 MHz ||[[แอลทีอี|LTE-Advanced]]
| '''1800'''&nbsp;MHz || 3 || 2x15 MHz ||LTE-Advanced
With ''<u>4X4MIMO</u>'' & ''<u>Massive MIMO 32R32T</u>''
With ''<u>4X4MIMO</u>'' & ''<u>Massive MIMO 32R32T</u>''
|[[4G]] ||rowspan="2"| กำลังให้บริการ || 4 ธ.ค. พ.ศ. 2558 || rowspan="2"| สิ้นสุด พ.ศ. 2576 (ใบอนุญาต)
|[[4G]] ||rowspan="2"| กำลังให้บริการ || 4 ธ.ค. พ.ศ. 2558 || rowspan="2"| สิ้นสุด พ.ศ. 2576 (ใบอนุญาต)
บรรทัด 81: บรรทัด 65:


== ข้อวิจารณ์ ==
== ข้อวิจารณ์ ==
วันที่ 13 เมษายน 2561 [[สำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน)]] รายงานอ้างอิงนิอัลล์ เมอร์ริแกน (Niall Merrigan) นักวิจัยด้านความมั่นคงว่า ข้อมูลผู้ใช้บริการทรูมูฟ เอชรั่วไหล เนื่องจากเก็บข้อมูลในแอมะซอน เอส3 บักเก็ต (Amazon S3 bucket) ที่รักษาความปลอดภัยไม่เพียงพอ โดยเป็นไฟล์สแกนสำเนาบัตรประชาชน ใบขับขี่และหนังสือเดินทางระหว่างปี 2559 ถึง 2561 จำนวนประมาณ 46,000 ไฟล์<ref name="mtc"/> ทั้งนี้ หากบุคคลภายนอกทราบ[[ยูอาร์แอล]]ก็สามารถดาวน์โหลดไฟล์ได้ทั้งหมด<ref name="mgr">[https://mgronline.com/onlinesection/detail/9610000037047 ผงะ! พบค่ายมือถือดังของไทย หลุด “สำเนาบัตรประชาชน” สู่สาธารณะกว่า 4.6 หมื่นราย]</ref> ทางเมอร์ริแกนพยายามติดต่อบริษัทตั้งแต่วันที่ 10 มีนาคม โดยบริษัทยอมรับว่าไม่มีหน่วยงานด้านความปลอดภัยเฉพาะ<ref name="mgr"/> เพิ่งมาปิดความเป็นสาธารณะไปเมื่อวันที่ 12 เมษายน 2561<ref>[https://www.thairath.co.th/content/1256076 ทรูมูฟเอช งานเข้า! ทำข้อมูล 'บัตรปชช.-พาสปอร์ต' ลูกค้ารั่ว ยังไร้แจง]</ref>
วันที่ 13 เมษายน 2561 สำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) รายงานอ้างอิงนิอัลล์ เมอร์ริแกน (Niall Merrigan) นักวิจัยด้านความมั่นคงว่า ข้อมูลผู้ใช้บริการทรูมูฟ เอชรั่วไหล เนื่องจากเก็บข้อมูลในแอมะซอน เอส3 บักเก็ต (Amazon S3 bucket) ที่รักษาความปลอดภัยไม่เพียงพอ โดยเป็นไฟล์สแกนสำเนาบัตรประชาชน ใบขับขี่และหนังสือเดินทางระหว่างปี 2559 ถึง 2561 จำนวนประมาณ 46,000 ไฟล์ ทั้งนี้ หากบุคคลภายนอกทราบยูอาร์แอลก็สามารถดาวน์โหลดไฟล์ได้ทั้งหมด ทางเมอร์ริแกนพยายามติดต่อบริษัทตั้งแต่วันที่ 10 มีนาคม โดยบริษัทยอมรับว่าไม่มีหน่วยงานด้านความปลอดภัยเฉพาะ เพิ่งมาปิดความเป็นสาธารณะไปเมื่อวันที่ 12 เมษายน 2561


ต่อมา ทรูออกแถลงการณ์ยอมรับว่าถูก[[แฮก]]ข้อมูลผ่านไอทรูมาร์ต (Itruemart) โดยผู้ได้รับผลกระทบได้แก่ผู้ซื้อโทรศัพท์เคลื่อนที่พร้อมแพคเกจบริการทรูมูฟ เอช และลงทะเบียนซิมทางไอทรูมาร์ต ทีมงานจะมีการส่งแจ้งเตือนไปยังลูกค้ากลุ่มดังกล่าว<ref>[http://www.bangkokbiznews.com/news/detail/798873 'กสทช.'เรียก'ทรู' แจงด่วน เหตุบัตรปชช.ลูกค้าหลุด ค่ายมือถือยอมรับจริง]</ref> ด้านสำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) แนะนำให้ประชาชนไปลงบันทึกประจำวันแจ้งไว้เป็นหลักฐานป้องกันผู้ร้ายนำไปสวมรอยหรือปลอมแปลง<ref name="mtc">[https://www.matichon.co.th/news/916515 ทรูเผลอทำข้อมูลลูกค้ารั่วไหล’บัตรปชช.-พาสปอร์ต’นับ 46,000 ไฟล์ คนนอกเข้าถึงได้ง่าย]</ref>
ต่อมา ทรูออกแถลงการณ์ยอมรับว่าถูกแฮกข้อมูลผ่านไอทรูมาร์ต (Itruemart) โดยผู้ได้รับผลกระทบได้แก่ผู้ซื้อโทรศัพท์เคลื่อนที่พร้อมแพคเกจบริการทรูมูฟ เอช และลงทะเบียนซิมทางไอทรูมาร์ต ทีมงานจะมีการส่งแจ้งเตือนไปยังลูกค้ากลุ่มดังกล่าว ด้านสำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) แนะนำให้ประชาชนไปลงบันทึกประจำวันแจ้งไว้เป็นหลักฐานป้องกันผู้ร้ายนำไปสวมรอยหรือปลอมแปลง


สำนักงาน[[คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ]] (กสทช.) เรียกให้ทรูมูฟ เอช เข้าชี้แจงข้อเท็จจริงในวันที่ 17 เมษายน 2561 ด้านเลขาธิการ กสทช. ระบุว่า หากมีความผิดอาจถึงขั้นพักใช้ เพิกถอนใบอนุญาต<ref>[https://www.khaosod.co.th/special-stories/news_964574 กสทช.เรียก ‘TRUE’ แจงปมข้อมูลลูกค้ารั่ว ขู่ โทษถึงขั้นเพิกถอนใบอนุญาต!!]</ref>
สำนักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) เรียกให้ทรูมูฟ เอช เข้าชี้แจงข้อเท็จจริงในวันที่ 17 เมษายน 2561 ด้านเลขาธิการ กสทช. ระบุว่า หากมีความผิดอาจถึงขั้นพักใช้ เพิกถอนใบอนุญาต


วันที่ 17 เมษายน 2561 ผู้บริหารบริษัทไอทรูมาร์ทและ ทรู คอร์เปอเรชั่นเข้าชี้แจงกับ กสทช. โดยให้ข้อมูลว่าข้อมูลที่เก็บไว้ใน[[คลาวด์]]มีจำนวน 11,400 เลขหมาย จากจำนวนลูกค้า 1 ล้านรายที่ลงทะเบียนผ่านทางออนไลน์ และการเข้าถึงข้อมูลตามข่าวมาจากการเจาะข้อมูลด้วยเครื่องมือพิเศษ 3 ชั้นซึ่งคนทั่วไปไม่สามารถเข้าถึงได้ ด้าน กสทช. ยังไม่สรุปว่าทรูมีความผิดหรือไม่ แต่จะทำหนังสือเตือนผู้ให้บริการทุกเครือข่ายโทรทัศน์ให้ตรวจสอบการจัดเก็บข้อมูลส่วนบุคคลของลูกค้า และอาจใช้งบประมาณจากกองทุนบริการโทรคมนาคมพื้นฐานโดยทั่วถึงและบริการเพื่อสังคม (USO) จัดทำฐานจัดเก็บข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ใช้เครือข่ายทุกค่ายแทนเอกชน<ref>[https://news.thaipbs.or.th/content/271698 "ทรู" ชี้แจงถูกเจาะข้อมูลด้วยเครื่องมือพิเศษ กระทบลูกค้า 11,400 เลขหมาย]</ref>
วันที่ 17 เมษายน 2561 ผู้บริหารบริษัทไอทรูมาร์ทและ ทรู คอร์เปอเรชั่นเข้าชี้แจงกับ กสทช. โดยให้ข้อมูลว่าข้อมูลที่เก็บไว้ในคลาวด์มีจำนวน 11,400 เลขหมาย จากจำนวนลูกค้า 1 ล้านรายที่ลงทะเบียนผ่านทางออนไลน์ และการเข้าถึงข้อมูลตามข่าวมาจากการเจาะข้อมูลด้วยเครื่องมือพิเศษ 3 ชั้นซึ่งคนทั่วไปไม่สามารถเข้าถึงได้ ด้าน กสทช. ยังไม่สรุปว่าทรูมีความผิดหรือไม่ แต่จะทำหนังสือเตือนผู้ให้บริการทุกเครือข่ายโทรทัศน์ให้ตรวจสอบการจัดเก็บข้อมูลส่วนบุคคลของลูกค้า และอาจใช้งบประมาณจากกองทุนบริการโทรคมนาคมพื้นฐานโดยทั่วถึงและบริการเพื่อสังคม (USO) จัดทำฐานจัดเก็บข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ใช้เครือข่ายทุกค่ายแทนเอกชน


วันที่ 18 เมษายน 2561 กสทช. สั่งให้บริษัท เรียล มูฟ จำกัด เยียวยาความเสียหายต่อผู้ใช้บริการที่ได้รับผลกระทบภายใน 7 วัน โดยหากไม่ปฏิบัติตามจะมีโทษปรับไม่ต่ำกว่าสองหมื่นบาทต่อวัน<ref>[https://www.posttoday.com/it/548362 กสทช.สั่ง "ทรู" เร่งเยียวยาลูกค้าที่ข้อมูลบัตรประชาชนหลุด]</ref>
วันที่ 18 เมษายน 2561 กสทช. สั่งให้บริษัท เรียล มูฟ จำกัด เยียวยาความเสียหายต่อผู้ใช้บริการที่ได้รับผลกระทบภายใน 7 วัน โดยหากไม่ปฏิบัติตามจะมีโทษปรับไม่ต่ำกว่าสองหมื่นบาทต่อวัน


==อ้างอิง==
==อ้างอิง==
บรรทัด 95: บรรทัด 79:


==แหล่งข้อมูลอื่น==
==แหล่งข้อมูลอื่น==
*[http://www.truemove-h.com เว็บไซต์อย่างเป็นทางการของ TrueMove H]
*เว็บไซต์อย่างเป็นทางการของ TrueMove H
*[http://xn--42c8agg2bnd3cwd9d8c5d.net รวมโปรโมชั่นโทรทรูมูฟ สมัครเน็ตทรู เติมเงิน ปี2017]
*รวมโปรโมชั่นโทรทรูมูฟ สมัครเน็ตทรู เติมเงิน ปี2017


{{เครือเจริญโภคภัณฑ์}}
{{เครือเจริญโภคภัณฑ์}}
บรรทัด 105: บรรทัด 89:
[[หมวดหมู่:บริษัทของไทย]]
[[หมวดหมู่:บริษัทของไทย]]
[[หมวดหมู่:บริษัทที่ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2554]]
[[หมวดหมู่:บริษัทที่ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2554]]
{{โครงบริษัท}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 19:51, 8 มิถุนายน 2562

ทรูมูฟ เอช () หรือ บริษัท เรียลมูฟ จำกัด (Real Move Co., Ltd) และ บริษัท ทรูมูฟ เอช ยูนิเวอร์แซล คอมมิวนิเคชั่น จำกัด (TrueMove H Universal Communication Co., Ltd) เป็นบริษัทในเครือของ บริษัท ทรู คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) ที่ทำธุรกิจให้บริการโทรศัพท์มือถือรายหนึ่งในประเทศไทย โดยเป็นตัวแทนขายส่งต่อบริการของ กสท. โทรคมนาคม เดิมคือเครือข่ายฮัทซ์ ของบริษัท ฮัทจิสัน ซีเอที ไวร์เลส มัลติมีเดีย จำกัด ที่ถูกกลุ่มทรู คอร์ปอเรชั่น เข้าซื้อกิจการโดยผ่านความเห็นชอบจากกสท. โทรคมนาคม และได้รับอนุญาตในการดำเนินการโครงข่ายโทรศัพท์มือถือระยะที่ 3 (3G) บนเครือข่ายดับเบิลยูซีดีเอ็มเอ 850 เมกกะเฮิตซ์ บนช่วงความถี่ 15 เมกกะเฮิตซ์ ที่ถือว่ามากที่สุดในกลุ่มผู้ให้บริการในปัจจุบัน (รวมทรูมูฟ) และยังได้รับใบอนุญาตในการดำเนินการโครงข่ายโทรศัพท์มือถือบนเครือข่ายดับเบิลยูซีดีเอ็มเอ 2100 เมกกะเฮิตซ์ บนช่วงความถี่ 15 เมกกะเฮิตซ์ จาก กสทช. เพื่อมาดำเนินการโครงข่ายโทรศัพท์มือถือระยะที่ 3 และโครงข่ายโทรศัพท์มือถือระยะที่ 4 (4G LTE) โดยเครือข่าย ทรูมูฟ-เอช กับ ทรูมูฟ ในทางธุรกิจโทรคมนาคมจะถือว่าเป็นคนละเครือข่ายกัน แต่ทั้งสองเครือข่ายมีวิธีดำเนินการเหมือนกันทุกประการ ปัจจุบัน เมื่ออิงตามยอดผู้ใช้งาน ทรูมูฟ เอช เป็นผู้ให้บริการโครงข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ อันดับที่ 2 ของประเทศ

ผลิตภัณฑ์ และ บริการ

ทรูมูฟ เอช ให้บริการโครงข่ายโทรศัพท์มือถือ 3G บนคลื่นความถี่ 850 MHz และ 2100 MHz และโครงข่าย 4G LTE บนคลื่นความถี่ 2100 MHz ซึ่งความถี่ 850 MHz เป็นคลื่นความถี่ต่ำสามารถส่งสัญญาณครอบคลุมพื้นที่ในวงกว้างและทั่วถึง ส่วนคลื่น 2100 MHz ซึ่งเป็นคลื่นความถี่สูง ใช้ได้ดีในจุดที่มีการใช้งานหนาแน่น นอกจากนี้ยังมีบริการ WiFi ผ่านระบบ Auto Login หรือเชื่อมต่อแบบอัตโนมัติ ด้วยความเร็วสูงสุด 200 Mbps ผ่าน WiFi hotspots มากกว่า 100,000 จุดทั่วประเทศ

บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ยุคที่สามหรือ 3G ของทรูมูฟ เอช มีทั้งระบบรายเดือนและเติมเงิน (ระบบเติมเงิน เริ่มให้บริการเมื่อต้นปี 2555) โดยมีความเร็วในการให้บริการถึง 42 เมกะบิต/วินาที (ขึ้นอยู่กับอุปกรณ์ที่ใช้งานและพื้นที่ให้บริการ) โดยใช้เทคโนโลยี HSPA+

ในระยะแรกของการให้บริการ (ตุลาคม 2554) ทรูมูฟ เอช ครอบคลุมพื้นที่กรุงเทพมหานคร และอีก 16 จังหวัด ได้แก่ สมุทรปราการ นนทบุรี ปทุมธานี นครปฐม สมุทรสาคร พระนครศรีอยุธยา ชลบุรี นครราชสีมา ขอนแก่น อุดรธานี เชียงใหม่ สุราษฎร์ธานี ภูเก็ต กระบี่ นครศรีธรรมราช และสงขลา

ต่อมาจึงครอบคลุมในทุกๆ อำเภอเมือง และสถานที่ท่องเที่ยวสำคัญๆ ใน 76 จังหวัดทั่วประเทศไทย และครอบคลุมพื้นที่มากที่สุด ในเขตกรุงเทพมหานครปริมณฑล รวมทั้งยังครอบคลุมในจุดที่ลึกที่สุดของกรุงเทพมหานครอย่างโครงการรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลอีกด้วย แต่นอกเหนือจากนี้จะให้บริการผ่านการใช้งานข้ามเครือข่าย หรือโรมมิ่งกับทรูมูฟแทน

ณ เดือนเมษายน 2556 ทรูมูฟ เอช ให้บริการ 3G ที่ครอบคลุมทั่วไทยครบทั้ง 77 จังหวัด 928 อำเภอ 7,394 ตำบล และ 67,615 หมู่บ้าน

นอกจากนี้ ทรูมูฟ เอช ยังมีอุปกรณ์โทรศัพท์เคลื่อนที่ รุ่น Go Live สมาร์ทโฟนระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ รุ่น Go Live ทรู บียอนด์ (TRUE BEYOND) และอุปกรณ์เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต (แอร์การ์ด) ทั้งในระบบ 3G และ 4G LTE รวมถึงโทรศัพท์มือถือของผู้ผลิตต่างๆ เข้ามาจำหน่ายอีกด้วย

โดยโครงข่ายที่ทรูมูฟ เอช นำมาให้บริการเป็นโครงข่ายรหัส 520-00 ของ กสท. โทรคมนาคม โดยตรง โดยเรียลมูฟรับหน้าที่ในการดำเนินการติดตั้งอุปกรณ์กระจายสัญญาณ ร่วมถึงพัฒนาระบบร่วมกันกับกสท. โทรคมนาคม แต่ในลักษณะของการให้บริการ ทรูมูฟ เอชจะได้เนื้อที่ในโครงข่ายเพียง 80% จากทั้งหมด ส่วนที่เหลือ กสท. โทรคมนาคม จะนำไปเปิดให้บริการ 3G ของตนเองในแบรนด์ My

นอกจากนี้ทรูมูฟ เอช ยังมีโครงข่ายรหัส 520-04 ที่เป็นของเรียลฟิวเจอร์ สำหรับให้บริการโครงข่าย 3G คลื่นความถี่ 2100 เมกกะเฮิตซ์ และให้บริการโครงข่าย 4G LTE บนคลื่นความถี่ 2100 เมกกะเฮิตซ์เช่นกัน โดยทั้งสองระบบบนคลื่น 2100 เมกกะเฮิตซ์นี้ จะทำหน้านี้ในการดำเนินการต่างกันเล็กน้อย คือคลื่น 3G 2100 เมกกะเฮิตซ์ จะเอามาขยายสัญญาณ 3G ที่มีอยู่เดิมของ 520-00 ให้เข้มมากขึ้น และเพื่อให้รองรับอุปกรณ์ต่างๆ ได้เพิ่มมากขึ้น ส่วนคลื่น LTE 2100 เมกกะเฮิตซ์ จะเป็นการแบ่งคลื่นจาก 3G 2100 เมกกะเฮิตซ์บางส่วน เพื่อให้บริการในหัวเมืองหลัก ที่ต้องการความเร็วในการใช้งานค่อนข้างสูง และทั้ง 3 คลื่น จะโรมมิ่งสลับกันไปมา ตามแต่ละพื้นที่ที่ให้บริการได้

ทรูมูฟ เอชเปิดให้บริการ 4G LTE เป็นรายแรกในประเทศไทย โดยเริ่มให้ทดลองใช้ได้ เมื่อเดือนกุมภาพันธ์ 2556 และเมื่อวันที่ 8 พฤษภาคม 2556 ทรูมูฟ เอช ได้แถลงข่าวเปิดตัวสโลแกนใหม่ The Best 3G And The First 4G พร้อมเปิดตัวบริการ 4G LTE เชิงพาณิชย์เป็นรายแรก (โดยการแบ่งคลื่น 2100 MHz ที่ได้จากการประมูล 3G บางส่วน เป็นช่วงความถี่กว้าง 10 MHz) ให้บริการที่ความเร็วดาวน์โหลด 100 Mbps และอัปโหลด 50Mbps โดยในช่วงแรกจะเปิดให้บริการใจกลางกรุงเทพมหานคร ก่อนขยายออกไปครอบคลุมทั่วกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล (นนทบุรี ปทุมธานี สมุทรปราการ) รวมถึงอีก 13 หัวเมือง ประกอบไปด้วย ขอนแก่น, เชียงใหม่, ชะอำ-หัวหิน, ชลบุรี, นครปฐม, นครราชสีมา, (อ.เมืองนครราชสีมา อ.ปากช่อง), นครศรีธรรมราช, พิษณุโลก, ภูเก็ต, สงขลา (อ.เมืองสงขลา, อำเภอหาดใหญ่), สุราษฏร์ธานี (อ.เมืองสุราษฎร์ธานี, เกาะสมุย), อุบลราชธานี และอยุธยา ภายในสิ้นปี 2556

ต้นปี 2557 ทรูมุฟ เอช ขยายจุดบริการ 4G LTE ครอบคลุมใจกลางเมือง 14 จังหวัด พร้อมแหล่งท่องเที่ยวยอดนิยม และจุดเชื่อมต่อชายแดน

ส่วนเครือข่าย 3G ของทรูมูฟ เอช บนความถี่ 850/2100 MHz ให้บริการครอบคลุมมากที่สุดในประเทศไทย

ทรูมูฟ เอช ยังมีบริการ WiFi เพื่อเสริมประสิทธิภาพการใช้งาน 3G ในบางจุด ด้วยความเร็วสูงสุด 200 Mbps* ผ่าน WiFi hotspots มากกว่า 100,000 จุดทั่วประเทศ

เดือนกันยายน 2556 ทรูมูฟ เอช ออกภาพยนตร์โฆษณาเรื่อง “การให้ คือการสื่อสารที่ดีที่สุด" ซึ่งกลายเป็น ทอล์ค ออฟ เดอะ ทาวน์ หรือมีการพูดถึงมากที่สุด มีการแชร์ผ่านสังคมออน์ไลน์จำนวนมาก โดยหลังจากอัปโหลดในยูทูป 5 วัน มียอดเข้าชมสูงถึง 3 ล้านกว่าครั้ง และมากกว่า 10 ล้านครั้งในอีกสองสามวันถัดมา ทำให้ได้รับกระแสตอบรับและคำชมจากผู้ชมทั่วโลก ที่รวมถึงสื่อต่างประเทศที่เขียนแนะนำผ่านบทความต่าง ๆ จำนวนมากอีกด้วย นอกจากนี้ ผู้บริหารสื่อดัง ๆ ของโลกอย่างเช่น Vic Gundotra ผู้บริหาร Google และ Tim O’Reilly ผู้บริหาร O’Reilly Media สองผู้ทรงอิทธิพลในโลก IT ก็ชื่นชอบโฆษณาตัวนี้จนนำไปแชร์ลงหน้า Google+ ของตัวเองด้วย

วันที่ 18 มิถุนายน 2557 ทรูมูฟ เอช เปิดตัวแคมเปญ “เครือข่าย 3G ที่ 1 ของเรา ครอบคลุมที่ 1 ทั่วไทย”

ทรูมูฟ เอช ได้ใช้ศิลปินนักร้องจากรายการทรู อะคาเดมี่ แฟนเทเชีย และนักแสดงของไทยที่มีชื่อเสียงโด่งดังมาเป็นพรีเซ็นต์เตอร์ในภาพยนตร์โฆษณา อาทิ ณเดชน์ คูกิมิยะ, อุรัสยา เสปอร์บันด์, ปกรณ์ ฉัตรบริรักษ์, ราศรี บาเลนซิเอก้า, เจมส์ มาร์ รวมไปถึงศิลปินชื่อดังจากต่างชาติ อาทิ เกิลส์เจเนอเรชัน และทีมปีศาจแดง แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด เป็นต้น

ตอนนี้ค่ายนี้ดูจะมีความสุขที่สุด เพราะมีคลื่นความถี่มารองรับหลังสัญญาสัมปทานที่จะหมดในปี 2556 สองย่าน คือ ที่ความถี่ 850 MHz ความกว้าง 15 MHz มีอายุถึงปี พ.ศ. 2568 และความถี่ 2100 MHz ความกว้าง 15 MHz มีอายุถึงปี พ.ศ. 2570 รวมแล้วมีถึง 30 MHz ในการให้บริการ 3G และล่าสุดความไม่แน่นอนในการทำสัญญา 3G รูปแบบใหม่กับ CAT มีความชัดเจนขึ้นเป็นลำดับว่าเป็นสัญญาที่ไม่เป็นโมฆะ เมื่อมีการปรับปรุงแก้ไขสัญญาบางข้อสามารถดำเนินธุรกิจต่อได้เลย ทำให้เป็นผู้ประกอบการเครือข่าย 3G ที่ได้เปรียบรายอื่นที่สุดในเวลานี้

ล่าสุดผู้บริหาร TrueMove ให้ข้อมูลว่ามีสถานีฐานที่รองรับเครือข่าย 3G บนคลื่น 850 MHz ประมาณ 13,000 สถานี ซึ่งสามารถให้บริการครอบคลุมถึง 51,161 หมู่บ้านแล้ว แม้จะมีพื้นที่ให้บริการ 3G ครอบคลุมทั้งประเทศที่ย่าน 850 MHz แต่ค่ายนี้ก็ไม่สามารถละเลยที่จะไม่ลงทุนโครงข่ายในย่านความถี่ 2100 MHz เนื่องด้วยติดเงื่อนไขการประมูลที่ต้องปฏิบัติตาม โดยเราจะเห็นการลงทุนและติดตั้งอุปกรณ์ย่านความถี่ 2100 MHz ที่เน้นในกรุงเทพฯ และหัวเมืองหลักเท่านั้น โดยอุปกรณ์ที่ลงสามารถปรับเปลี่ยนจากเทคโนโลยี 3G เป็น 4G ได้เลย

โครงข่าย 4G LTE ในปี 2556 มีสองย่าน บนคลื่นความถี่ 850 และ 2100 MHz ในปี 2559 สี่คลื่น คือ ความถี่ 850 900 1800 และ 2100 MHz เมื่อความถี่ 1800 MHz ความกว้าง 15 MHz มีอายุถึงปี พ.ศ. 2576

คลื่นความถี่ที่ใช้งาน

ทรูมูฟ เอช เป็นผู้ให้บริการโทรศัพท์มือถือที่ถือครองคลื่นความถี่สูงถึง 110 MHz (2x55 MHz) นับเป็นอันดับ 2 ในอุตสาหกรรม ปัจจุบัน ทรูมูฟ เอช ได้จัดสรรการให้บริการแต่ละคลื่นความถี่ดังต่อไปนี้

คลื่นความถี่ในการให้บริการของทรูมูฟ เอช
คลื่นความถี่ หมายเลขช่องสัญญาณ จำนวนคลื่นความถี่ เทคโนโลยี ประเภท สถานะบริการ เปิดให้บริการ ระยะเวลาดำเนินการ
850 MHz 5 2x15 MHz UMTS/DC-HSPA+ 3G กำลังให้บริการ 8 พ.ค. พ.ศ. 2556 สิ้นสุด พ.ศ. 2568 (สัญญาเช่า)
2100 MHz 1 2x5 MHz UMTS/HSPA+ 3G กำลังให้บริการ 8 พ.ค. พ.ศ. 2556 สิ้นสุด พ.ศ. 2570 (ใบอนุญาต)
2100 MHz 1 2x10 MHz LTE/VoLTE 4G 8 พ.ค. พ.ศ. 2556
900 MHz 8 2x10 MHz LTE 4G กำลังให้บริการ 1 พ.ค. พ.ศ. 2559 สิ้นสุด พ.ศ. 2574 (ใบอนุญาต)
900 MHz 8 GiLTE "GSM in LTE" GSM/GPRS/EDGE 2G พ.ศ. 2533
1800 MHz 3 2x15 MHz LTE-Advanced

With 4X4MIMO & Massive MIMO 32R32T

4G กำลังให้บริการ 4 ธ.ค. พ.ศ. 2558 สิ้นสุด พ.ศ. 2576 (ใบอนุญาต)

ข้อวิจารณ์

วันที่ 13 เมษายน 2561 สำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) รายงานอ้างอิงนิอัลล์ เมอร์ริแกน (Niall Merrigan) นักวิจัยด้านความมั่นคงว่า ข้อมูลผู้ใช้บริการทรูมูฟ เอชรั่วไหล เนื่องจากเก็บข้อมูลในแอมะซอน เอส3 บักเก็ต (Amazon S3 bucket) ที่รักษาความปลอดภัยไม่เพียงพอ โดยเป็นไฟล์สแกนสำเนาบัตรประชาชน ใบขับขี่และหนังสือเดินทางระหว่างปี 2559 ถึง 2561 จำนวนประมาณ 46,000 ไฟล์ ทั้งนี้ หากบุคคลภายนอกทราบยูอาร์แอลก็สามารถดาวน์โหลดไฟล์ได้ทั้งหมด ทางเมอร์ริแกนพยายามติดต่อบริษัทตั้งแต่วันที่ 10 มีนาคม โดยบริษัทยอมรับว่าไม่มีหน่วยงานด้านความปลอดภัยเฉพาะ เพิ่งมาปิดความเป็นสาธารณะไปเมื่อวันที่ 12 เมษายน 2561

ต่อมา ทรูออกแถลงการณ์ยอมรับว่าถูกแฮกข้อมูลผ่านไอทรูมาร์ต (Itruemart) โดยผู้ได้รับผลกระทบได้แก่ผู้ซื้อโทรศัพท์เคลื่อนที่พร้อมแพคเกจบริการทรูมูฟ เอช และลงทะเบียนซิมทางไอทรูมาร์ต ทีมงานจะมีการส่งแจ้งเตือนไปยังลูกค้ากลุ่มดังกล่าว ด้านสำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) แนะนำให้ประชาชนไปลงบันทึกประจำวันแจ้งไว้เป็นหลักฐานป้องกันผู้ร้ายนำไปสวมรอยหรือปลอมแปลง

สำนักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) เรียกให้ทรูมูฟ เอช เข้าชี้แจงข้อเท็จจริงในวันที่ 17 เมษายน 2561 ด้านเลขาธิการ กสทช. ระบุว่า หากมีความผิดอาจถึงขั้นพักใช้ เพิกถอนใบอนุญาต

วันที่ 17 เมษายน 2561 ผู้บริหารบริษัทไอทรูมาร์ทและ ทรู คอร์เปอเรชั่นเข้าชี้แจงกับ กสทช. โดยให้ข้อมูลว่าข้อมูลที่เก็บไว้ในคลาวด์มีจำนวน 11,400 เลขหมาย จากจำนวนลูกค้า 1 ล้านรายที่ลงทะเบียนผ่านทางออนไลน์ และการเข้าถึงข้อมูลตามข่าวมาจากการเจาะข้อมูลด้วยเครื่องมือพิเศษ 3 ชั้นซึ่งคนทั่วไปไม่สามารถเข้าถึงได้ ด้าน กสทช. ยังไม่สรุปว่าทรูมีความผิดหรือไม่ แต่จะทำหนังสือเตือนผู้ให้บริการทุกเครือข่ายโทรทัศน์ให้ตรวจสอบการจัดเก็บข้อมูลส่วนบุคคลของลูกค้า และอาจใช้งบประมาณจากกองทุนบริการโทรคมนาคมพื้นฐานโดยทั่วถึงและบริการเพื่อสังคม (USO) จัดทำฐานจัดเก็บข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ใช้เครือข่ายทุกค่ายแทนเอกชน

วันที่ 18 เมษายน 2561 กสทช. สั่งให้บริษัท เรียล มูฟ จำกัด เยียวยาความเสียหายต่อผู้ใช้บริการที่ได้รับผลกระทบภายใน 7 วัน โดยหากไม่ปฏิบัติตามจะมีโทษปรับไม่ต่ำกว่าสองหมื่นบาทต่อวัน

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น

  • เว็บไซต์อย่างเป็นทางการของ TrueMove H
  • รวมโปรโมชั่นโทรทรูมูฟ สมัครเน็ตทรู เติมเงิน ปี2017