ตราแผ่นดินของซาอุดีอาระเบีย
ตราแผ่นดินของซาอุดิอาระเบีย شعار السعودية | |
---|---|
![]() | |
ตราอาร์มรุ่นต่าง ๆ | |
![]() ตราแผ่นดิน พ.ศ. 2475-2493 | |
รายละเอียด | |
ผู้ใช้ตรา | พระมหากษัตริย์ซาอุดิอาระเบีย |
เริ่มใช้ | พ.ศ. 2493 |
โล่ | ต้นปาล์มรองรับด้วยดาบสองเล่มไขว้กัน |
ตราแผ่นดินของซาอุดิอาระเบีย (อาหรับ: شعار السعودية) เริ่มใช้เมื่อ ค.ศ. 1953 ภายใต้บทบัญญัติกฎหมายพื้นฐานแห่งซาอุดิอาระเบีย[1] มีลักษณะเป็นรูปต้นปาล์มรองรับด้วยดาบสองเล่มไขว้กัน[2]
ดาบสองเล่มไขว้กัน หมายถึงอาณาจักรทั้งสองคือ นัจญด์ และ ฮิญาซ, ราชอาณาจักรภายใต้การปกครองของมุฮัมมัด บินซะอูด เมื่อ ค.ศ. 1926.[3] ต้นปาล์มหมายถึง สินทรัพย์อันมั่งคั่งของแผ่นดินอันประกอบด้วย ชาวซาอุดิอาระเบีย, มรดก, ประวัติศาสตร์, และ ทรัพยากรแร่ธาตุต่างๆอันอุดมสมบูรณ์. โดยต้นปาล์มรองรับด้วยดาบสองเล่มไขว้กัน หมายถึงการปกป้องรักษาประเทศชาติ.พ.ศ. 2493
พัฒนาการ[แก้]
ตราแผ่นดิน ราชอาณาจักรฮิญาซ ค.ศ. 1916 - 1925
ตราแผ่นดิน ราชอาณาจักรฮิญาซและนัจญด์ ค.ศ. 1925 - 1932
การใช้[แก้]
ตราแผ่นดิน ใช้ประทับบนเอกสารทางราชการต่าง เช่น คณะผู้แทนทางทูต, รวมถึงธงสำคัญของชาติ ได้แก่ ราชธวัชแห่งซาอุดิอาระเบีย ตราแผ่นดินที่มุมล่างปลายธงชาติ และ ธงราชการทหารของกองทัพซาอุดิอาระเบีย.