ดาวบีเทลจุส

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
Betelgeuse, Alpha Ori

ดาวบีเทลจุส (ตำแหน่งที่ลูกศรชี้) ในกลุ่มดาวนายพราน
ข้อมูลสังเกตการณ์
ต้นยุคอ้างอิง J2000.0      วิษุวัต J2000.0
กลุ่มดาว นายพราน
ไรต์แอสเซนชัน 05h 55m 10.30536s[1]
เดคลิเนชัน +07° 24′ 25.4304″[1]
ความส่องสว่างปรากฏ (V) 0.50[2] (0.0–1.3[3])
คุณสมบัติ
ชนิดสเปกตรัมM1–M2 Ia–ab[4]
ดัชนีสี U-B+2.06[2]
ดัชนีสี B-V+1.85[2]
ชนิดดาวแปรแสงSRc[3]
มาตรดาราศาสตร์
ความเร็วแนวเล็ง (Rv)+21.91[5] km/s
การเคลื่อนที่เฉพาะ (μ) RA: 26.42 ± 0.25[6] mas/yr
Dec.: 9.60 ± 0.12[6] mas/yr
พารัลแลกซ์ (π)4.51 ± 0.80[6] mas
ระยะทางประมาณ 700 ly
(ประมาณ 220 pc)
ความส่องสว่างสัมบูรณ์ (MV)−5.85[7]
รายละเอียด
มวล11.6+5.0
−3.9
[8] M
รัศมี887 ± 203[9], 955±217[8] R
แรงโน้มถ่วงที่พื้นผิว (log g)−0.5[10]
กำลังส่องสว่าง90000150000[11] L
อุณหภูมิ3590[8] K
ค่าความเป็นโลหะ+0.05[12]
ความเร็วในการหมุนตัว (v sin i)5[13] km/s
อายุ8.0–8.5 ล้าน[9] ปี
ชื่ออื่น
Betelgeuse, α Ori, 58 Ori, HR 2061, BD+7°1055, HD 39801, FK5 224, HIP 27989, SAO 113271, GC 7451, CCDM J05552+0724AP, AAVSO 0549+07
ฐานข้อมูลอ้างอิงอื่น
SIMBADdata

พิกัด: Sky map 05h 55m 10.30536s, +07° 24′ 25.4304″ ดาวบีเทลจุส (อังกฤษ: Betelgeuse) เป็นดาวที่สว่างที่สุดอันดับที่ 11 ในท้องฟ้ากลางคืนและสว่างที่สุดเป็นอันดับสองในกลุ่มดาวนายพราน (รองจากดาวไรเจล) บีเทลจุสเป็นดาวกึ่งแปรแสงที่มีสีแดงชัดเจน ซึ่งมีความส่องสว่างปรากฏระหว่าง +0.0 ถึง +1.3 ซึ่งเป็นช่วงที่กว้างที่สุดของดาวในกลุ่มโชติมาตรเป็น 1 สำหรับในช่วงความยาวคลื่นใกล้อินฟราเรด บีเทลจุสเป็นดาวฤกษ์ที่สว่างที่สุดในท้องฟ้ายามค่ำคืน มีชื่อในระบบการตั้งชื่อดาวฤกษ์ของเบเยอร์ว่า อัลฟาโอริออนิส (α Orionis; ละติน: Alpha Orionis) และตัวย่อ อัลฟาโอริ (Alpha Ori) หรือ α Ori

บีเทลจุสเป็นดาวยักษ์ใหญ่แดง (Red supergiant star) มีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 1000 เท่า ของดวงอาทิตย์ อยู่ไกลออกไป 640 ปีแสง จึงเป็นดาวฤกษ์ดวงแรกนอกระบบสุริยะ ที่เราสามารถวัดขนาดของมันได้สำเร็จ ในปี ค.ศ. 1920 และยังเป็นดาวฤกษ์ดวงแรก ที่เราสามารถถ่ายภาพชั้นบรรยากาศได้อีกด้วย

สีของดวงดาวที่เปลี่ยนไป เกิดจากอุณหภูมิลดลงที่ชั้นนอกของดาว ในขณะที่ขยายขนาดออกไป ซึ่งบางครั้งจะไม่มีเสถียรภาพ อุณหภูมิ ขนาดและความสว่างจึงไม่คงที่ ดาวบีเทลจุสมีการเปลี่ยนแปลงความสว่างจากสว่างที่สุด จางลง แล้วกลับมาสว่างที่สุดอีกครั้งทุก ๆ 5.8 ปี

อ้างอิง[แก้]

  1. 1.0 1.1 van Leeuwen, F (November 2007). "Hipparcos, the New Reduction". Astronomy and Astrophysics. 474 (2): 653–664. arXiv:0708.1752. Bibcode:2007A&A...474..653V. doi:10.1051/0004-6361:20078357 – โดยทาง VizieR.
  2. 2.0 2.1 2.2 Nicolet, B. (1978). "Catalogue of Homogeneous Data in the UBV Photoelectric Photometric System". Astronomy & Astrophysics. 34: 1–49. Bibcode:1978A&AS...34....1N.
  3. 3.0 3.1 Samus, N. N.; Durlevich, O. V.; และคณะ (2009). "VizieR Online Data Catalog: General Catalogue of Variable Stars (Samus+ 2007-2013)". VizieR On-line Data Catalog: B/GCVS. Originally Published in: 2009yCat....102025S. 1: B/gcvs. Bibcode:2009yCat....102025S.
  4. Keenan, Philip C.; McNeil, Raymond C. (1989). "The Perkins catalog of revised MK types for the cooler stars". Astrophysical Journal Supplement Series. 71: 245. Bibcode:1989ApJS...71..245K. doi:10.1086/191373.
  5. Famaey, B.; Jorissen, A.; และคณะ (2005). "Local kinematics of K and M giants from CORAVEL/Hipparcos/Tycho-2 data. Revisiting the concept of superclusters". Astronomy and Astrophysics. 430: 165–186. arXiv:astro-ph/0409579. Bibcode:2005A&A...430..165F. doi:10.1051/0004-6361:20041272.
  6. 6.0 6.1 6.2 Harper, G. M.; Brown, A.; และคณะ (2017). "An Updated 2017 Astrometric Solution for Betelgeuse". The Astronomical Journal. 154 (1): 11. arXiv:1706.06020. Bibcode:2017AJ....154...11H. doi:10.3847/1538-3881/aa6ff9.
  7. Lambert, D. L.; Brown, J. A.; และคณะ (September 1984). "Carbon, nitrogen and oxygem abundances in Betelgeuse". ApJ (ภาษาอังกฤษ). 284: 223–237. doi:10.1086/162401. ISSN 0004-637X.
  8. 8.0 8.1 8.2 Neilson, H. R.; Lester, J. B.; Haubois, X. (December 2011). Weighing Betelgeuse: Measuring the Mass of α Orionis from Stellar Limb-darkening. 9th Pacific Rim Conference on Stellar Astrophysics. Proceedings of a conference held at Lijiang, China in 14–20 April 2011. ASP Conference Series. Astronomical Society of the Pacific. Vol. 451. p. 117. arXiv:1109.4562. Bibcode:2011ASPC..451..117N.
  9. 9.0 9.1 Dolan, Michelle M.; Mathews, Grant J.; และคณะ (2017). "Evolutionary Tracks for Betelgeuse". The Astrophysical Journal. 819 (1): 7. arXiv:1406.3143v2. Bibcode:2016ApJ...819....7D. doi:10.3847/0004-637X/819/1/7.
  10. Lobel, Alex; Dupree, Andrea K. (2000). "Modeling the Variable Chromosphere of α Orionis" (PDF). The Astrophysical Journal. 545 (1): 454–74. Bibcode:2000ApJ...545..454L. doi:10.1086/317784. สืบค้นเมื่อ 10 July 2010.
  11. Smith, Nathan; Hinkle, Kenneth H.; Ryde, Nils (March 2009). "Red Supergiants as Potential Type IIn Supernova Progenitors: Spatially Resolved 4.6 μm CO Emission Around VY CMa and Betelgeuse". The Astronomical Journal. 137 (3): 3558–3573. arXiv:0811.3037. Bibcode:2009AJ....137.3558S. doi:10.1088/0004-6256/137/3/3558.
  12. Ramírez, Solange V.; Sellgren, K.; Carr, John S.; Balachandran, Suchitra C.; และคณะ (July 2000). "Stellar Iron Abundances at the Galactic Center" (PDF). The Astrophysical Journal. 537 (1): 205–20. arXiv:astro-ph/0002062. Bibcode:2000ApJ...537..205R. doi:10.1086/309022. สืบค้นเมื่อ 9 July 2010.
  13. Kervella, P.; Verhoelst, T.; และคณะ (September 2009). "The Close Circumstellar Environment of Betelgeuse. Adaptive Optics Spectro-imaging in the Near-IR with VLT/NACO". Astronomy and Astrophysics. 504 (1): 115–25. arXiv:0907.1843. Bibcode:2009A&A...504..115K. doi:10.1051/0004-6361/200912521.