ซีอีวีแชมเปียนส์ลีก

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ซีอีวีแชมเปียนส์ลีก
การแข่งหรือฤดูกาลปัจจุบัน:
เหตุการณ์กีฬาปัจจุบัน ซีอีวีแชมเปียนส์ลีก ฤดูกาล 2021–22
วอลเลย์บอลยูโรเปียนลีก
กีฬาวอลเลย์บอล
ก่อตั้งค.ศ. 1959
จำนวนทีม28 ทีม (รอบแบ่งกลุ่ม)
ประเทศสมาชิก CEV
ทวีปยุโรป
ทีมชนะเลิศปัจจุบันโปแลนด์ ซักซาแกนแจชึน-กอชแล
ทีมชนะเลิศสูงสุดสหภาพโซเวียต เซสกามอสโก
(13 สมัย)
เว็บไซต์Website

ซีอีวีแชมเปียนส์ลีก (อังกฤษ: CEV Champions League; ชื่อเดิม: ซีอีวียูโรเปียนแชมเปียนส์คัพ; CEV European Champions Cup ตั้งแต่ ค.ศ. 1959 ถึง ค.ศ. 2000) เป็นการแข่งขันวอลเลย์บอลชายระดับสโมสรของทวีปยุโรป และจัดขึ้นเป็นประจำทุกปี ซึ่งอยู่ภายใต้การกำกับของสมาพันธ์วอลเลย์บอลยุโรป (ซีอีวี)

ประวัติ[แก้]

  • ในปี ค.ศ.1959 – ค.ศ.2000 ได้ใช้ชื่อว่า ซีอีวียูโรเปียนแชมเปียนส์คัพ
  • ตั้งแต่ปี ค.ศ.2001–ปัจจุบัน ได้ใช้ชื่อว่า ซีอีวีแชมเปียนส์ลีก

รูปแบบการแข่งขัน[แก้]

จะมีทีมที่เข้าร่วมทั้งหมด 20 ทีม โดยจะถูกแบ่งกลุ่มออกเป็น 5 กลุ่ม หลังจากการแข่งขันแต่ละแมทช์เสร็จสิ้นแต่ละทีมจะได้รับคะแนนดังต่อไปนี้

  • แมตช์ที่แข่งขัน 3–0 หรือ 3–1 ทีมที่ชนะจะได้ 3 คะแนน และทีมที่แพ้ได้ 0 คะแนน
  • แมตช์ที่แข่งขัน 3–2 ทีมที่ชนะจะได้ 2 คะแนน และทีมที่แพ้ได้ 1 คะแนน

เมื่อการแข่งขันในรอบแบ่งกลุ่มเสร็จสิ้นทีมอันดับที่ 1 ของแต่ละกลุ่ม จะผ่านเข้าสู่รอบก่อนรองชนะเลิศ ส่วนทีมอันดับที่ 2 และทีมอันดับที่ 3 ที่ดีที่สุด จะผ่านเข้าสู่รอบเพลย์ออฟ 6 ทีมสุดท้าย หลังจากนั้นจะมีผู้ชนะเพียง 2 ทีม ผ่านไปเล่นในรอบสุดท้าย โดยทีมในรอบสุดท้ายได้แก่ ผู้ชนะในรอบรองชนะเลิศ ซึ่งในรอบสุดท้ายจะจัดขึ้นเดือนพฤษภาคม

ทำเนียบแชมป์[แก้]

สรุปผลการแข่งขัน[แก้]

ซีอีวียูโรเปียนแชมเปียนส์คัพ[แก้]

ฤดูกาล รอบชิงชนะเลิศ รอบชิงอันดับที่ 3
ชนะเลิศ คะแนน รองชนะเลิศ อันดับที่ 3 อันดับที่ 4
1959–60 สหภาพโซเวียต
เซสกามอสโก
3–0
1–3
โรมาเนีย
ราปิดบูกูเรชต์
บัลแกเรีย เลฟสกี โซเฟีย
โปแลนด์ อาแซดเอส-อาวูแอฟ วาร์ชาวา
1960–61 โรมาเนีย
ราปิดบูกูเรชต์
3–1
3–2
สหภาพโซเวียต
เซสกามอสโก
เชโกสโลวาเกีย ดุกลา กอลิน
บัลแกเรีย แบคา มินยอร์เปร์นิก
1961–62 สหภาพโซเวียต
เซสกามอสโก
2–3
3–1
โรมาเนีย
ราปิดบูกูเรชต์
N / A
1962–63 โรมาเนีย
ราปิดบูกูเรชต์
3–1
3–0
สหภาพโซเวียต
เซสกามอสโก
บัลแกเรีย เซสกาโซเฟีย
โปแลนด์ วูกาแอส แลเกีย วาร์ตชาวา
1963–64 เยอรมนีตะวันออก
ไลพ์ซิก
3–1
3–1
สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย
มลาตอส์ต
เชโกสโลวาเกีย ดุกลา กอลิน
บัลแกเรีย แบคา มินยอร์เปร์นิก
1964–65 โรมาเนีย
ราปิดบูกูเรชต์
1–3
3–1
3–2
บัลแกเรีย
แบคา มินยอร์เปร์นิก
เยอรมนีตะวันออก ไลพ์ซิก
เชโกสโลวาเกีย สลาเวีย ปราก
1965–66 โรมาเนีย
ดีนาโมบูกูเรชต์
3–1
3–2
โรมาเนีย
ราปิดบูกูเรชต์
เชโกสโลวาเกีย ดุกลา กอลิน
สหภาพโซเวียต เซสกามอสโก
1966–67 โรมาเนีย
ดีนาโมบูกูเรชต์
3–0
1–3
3–1
โรมาเนีย
ราปิดบูกูเรชต์
เยอรมนีตะวันออก ไลพ์ซิก
เชโกสโลวาเกีย รูดา ฮเวซดา ปราก
1967–68 เชโกสโลวาเกีย
สปาร์ตักเซดเยเอชเบอร์โน
1–3
3–0
3–1
โรมาเนีย
ดีนาโมบูกูเรชต์
โปแลนด์ วูกาแอส แลเกีย วาร์ตชาวา
โรมาเนีย สเตอัวบูกูเรชต์
1968–69 บัลแกเรีย
เซสกาโซเฟีย
3–0
3–2
โรมาเนีย
สเตอัวบูกูเรชต์
เยอรมนีตะวันออก ไลพ์ซิก
เชโกสโลวาเกีย ซบรอยอฟกา เซตอร์ เบอร์โน
1969–70 สหภาพโซเวียต
บูเรเวสต์นิค อัลมา-อะตา
3–0
3–1
เชโกสโลวาเกีย
เซตอร์ ซบรอยอฟกา เบอร์โน
ฮังการี แชแป็ล
สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย มลาตอส์ต
1970–71 สหภาพโซเวียต
บูเรเวสต์นิค อัลมา-อะตา
2–3
3–1
3–2
เชโกสโลวาเกีย
เซตอร์ ซบรอยอฟกา เบอร์โน
บัลแกเรีย เซสกาโซเฟีย
เยอรมนีตะวันออก ไลพ์ซิก
1971–72 เชโกสโลวาเกีย
เซตอร์ ซบรอยอฟกา เบอร์โน
ไม่มีรอบเพลย์ออฟ เนเธอร์แลนด์
อาเอ็มเฟเยอัมสเติลฟีน
อิตาลี
รุยนีฟีเรนเซ
แอลเบเนีย
ดีนาโมติรานา
1972–73 สหภาพโซเวียต
เซสกามอสโก
ไม่มีรอบเพลย์ออฟ โปแลนด์
แรซอเวียแชชุฟ
เชโกสโลวาเกีย
รูดา ฮเวซดา ปราก
เชโกสโลวาเกีย
เซตอร์ ซบรอยอฟกา เบอร์โน
1973–74 สหภาพโซเวียต
เซสกามอสโก
ไม่มีรอบเพลย์ออฟ โรมาเนีย
ดีนาโมบูกูเรชต์
เยอรมนีตะวันออก
ไลพ์ซิก
เนเธอร์แลนด์
ซตาร์ลิฟต์
1974–75 สหภาพโซเวียต
เซสกามอสโก
ไม่มีรอบเพลย์ออฟ เชโกสโลวาเกีย
ซบรอยอฟกา เบอร์โน
เยอรมนีตะวันออก
ไลพ์ซิก
บัลแกเรีย
สลาเวียโซเฟีย
1975–76 เชโกสโลวาเกีย
ดุคลาลีเบเรซ
ไม่มีรอบเพลย์ออฟ บัลแกเรีย
สลาเวียโซเฟีย
สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย
สปาร์ตักซูบอติกา
โปแลนด์
แรซอเวียแชชุฟ
1976–77 สหภาพโซเวียต
เซสกามอสโก
ไม่มีรอบเพลย์ออฟ โรมาเนีย
ดีนาโมบูกูเรชต์
บัลแกเรีย
เซสกาโซเฟีย
สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย
วาร์ดาร์
1977–78 โปแลนด์
ปวอมีแยญีมีลอวิตซ์
ไม่มีรอบเพลย์ออฟ เนเธอร์แลนด์
สตาร์ลิฟต์
เชโกสโลวาเกีย
อาเอรอ ออดอเลนา วอดา
ตุรกี
บือยึคเดเร โบรอนไค
1978–79 เชโกสโลวาเกีย
เชรเวนา ฮเวซดา บราติสลาวา
ไม่มีรอบเพลย์ออฟ โรมาเนีย
สเตอัวบูกูเรชต์
โปแลนด์
ปวอมีแยญิมิลอวิตซ
ฟินแลนด์
เปียกซามาเอน นามิกา
1979–80 อิตาลี
กลิปปันโตรีโน
ไม่มีรอบเพลย์ออฟ เชโกสโลวาเกีย
เชรเวนา ฮเวซดา บราติสลาวา
ตุรกี
เอจซาซีบาซี
ฟินแลนด์
เปียกซามาเอน นามิกา
1980–81 โรมาเนีย
ดีนาโมบูกูเรชต์
ไม่มีรอบเพลย์ออฟ สหภาพโซเวียต
เซสกามอสโก
โปแลนด์
กวาร์เดีย วรอตสวัฟ
ฟินแลนด์
เปียกซามาเอน นามิกา
1981–82 สหภาพโซเวียต
เซสกามอสโก
ไม่มีรอบเพลย์ออฟ อิตาลี
โรเบดีกลิปปันโตรีโน
โรมาเนีย
ดีนาโมบูกูเรชต์
กรีซ
โอลิมเปียกอส
1982–83 สหภาพโซเวียต
เซสกามอสโก
ไม่มีรอบเพลย์ออฟ ฝรั่งเศส
กาน
อิตาลี
ซันตัลปาร์มา
สเปน
ปอร์ตอล
1983–84 อิตาลี
ปาร์มา
ไม่มีรอบเพลย์ออฟ สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย
มลาดอส์ต
เชโกสโลวาเกีย
ดุคลาบีเรเบซ
ฝรั่งเศส
กาน
1984–85 อิตาลี
ซันตัลปาร์มา
ไม่มีรอบเพลย์ออฟ สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย
มลาดอส์ต
บัลแกเรีย
เซสกาโซเฟีย
เชโกสโลวาเกีย
รูดา ฮเวซดา ปราก
1985–86 สหภาพโซเวียต
เซสกามอสโก
ไม่มีรอบเพลย์ออฟ อิตาลี
ซันตัลปาร์มา
เนเธอร์แลนด์
มาร์ตินูส
เชโกสโลวาเกีย
รูดา ฮเวซดา ปราก
1986–87 สหภาพโซเวียต
เซสกามอสโก
ไม่มีรอบเพลย์ออฟ อิตาลี
ปานีนีโมเดนา
เนเธอร์แลนด์
มาร์ตินูส
บัลแกเรีย
เซสกาโซเฟีย
1987–88 สหภาพโซเวียต
เซสกามอสโก
3–0 อิตาลี
ปานีนีโมเดนา
เนเธอร์แลนด์
มาร์ตินูส
บัลแกเรีย
เซสกาโซเฟีย
1988–89 สหภาพโซเวียต
เซสกามอสโก
3–1 อิตาลี
ปานีนีโมเดนา
สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย
วอยวอดีนานอวีซาท
เยอรมนีตะวันตก
เทเฟาฮัมบวร์ค
1989–90 อิตาลี
ฟิลิปส์โมเดนา
3–2 ฝรั่งเศส
เอเอสเฟรฌุซ
สเปน
ปอร์ตอล
บัลแกเรีย
เซสกาโซเฟีย
1990–91 สหภาพโซเวียต
เซสกามอสโก
3–1 อิตาลี
มาซีโกโนปาร์มา
อิตาลี
ฟิลิปส์โมเดนา
ฝรั่งเศส
กาน
1991–92 อิตาลี
อิลเมสซัจเจโรราเวนนา
3–0 กรีซ
โอลิมเปียกอส
เครือรัฐเอกราช
เซสกามอสโก
ฝรั่งเศส
กาน
1992–93 อิตาลี
เอดิลโกกีราเวนนา
3–0 อิตาลี
มาซีโกโนปาร์มา
กรีซ
โอลิมเปียกอส
เบลเยียม
เซลลิกมัสปิลส์
1993–94 อิตาลี
เอดิลโกกีราเวนนา
3–0 อิตาลี
มาซีโกโนปาร์มา
เบลเยียม
เซลลิกมัสปิลส์
กรีซ
โอลิมเปียกอส
1994–95 อิตาลี
ซิสลีย์เตรวีโซ
3–0 อิตาลี
เอดิลโกกีราเวนนา
กรีซ
โอลิมเปียกอส
เบลเยียม
เซลลิกมัสปิลส์
1995–96 อิตาลี
ลัสไดโตนาโมเดนา
3–1 เยอรมนี
ดาเคา
สหพันธ์สาธารณรัฐยูโกสลาเวีย
วอยวอดีนา
อิตาลี
ซิสลีย์เตรวีโซ
1996–97 อิตาลี
ลัสไดโตนาโมเดนา
3–0 เบลเยียม
โนลิโก มาไซก์
โครเอเชีย
มลาดอส์ต
อิตาลี
ซิสลีย์เตรวีโซ
1997–98 อิตาลี
กาซาอูนีบอนโมเดนา
3–0 สเปน
อูนีกาคา
ฝรั่งเศส
ปารีส
โครเอเชีย
มลาดอส์ต
1998–99 อิตาลี
ซิสลีย์เตรวีโซ
3–0 เบลเยียม
โนลิโก มาไซก์
เยอรมนี
ฟรีดริชส์ฮาเฟิน
รัสเซีย
โลโคโมทิฟเบโลกอร์เรีย
1999–00 อิตาลี
ซิสลีย์เตรวีโซ
3–1 เยอรมนี
ฟรีดริชส์ฮาเฟิน
เบลเยียม
โนลิโก มาไซก์
ออสเตรีย
ฮอท์วอลเลย์ส เวียนนา

ซีอีวีแชมเปียนส์ลีก[แก้]

ฤดูกาล รอบชิงชนะเลิศ รอบชิงอันดับที่ 3
ชนะเลิศ คะแนน รองชนะเลิศ อันดับที่ 3 คะแนน อันดับที่ 4
2000–01 ฝรั่งเศส
ปารีส
3–2 อิตาลี
ซิสลีย์เตรวีโซ
อิตาลี
ฟอร์ดบี.เจซูโรมา
3–2 กรีซ
โอลิมเปียกอส
2001–02 อิตาลี
ลูเบบันกามาร์เกมาเชราตา
3–1 กรีซ
โอลิมเปียกอส
กรีซ
อิราคลิส
3–2 โปแลนด์
มอสตอสตัล-อาซอตือ แกนแจชึน-กอชแล
2002–03 รัสเซีย
โลโคโมทิฟเบโลกอร์เรีย
3–0 อิตาลี
เคราคอลล์โมเดนา
โปแลนด์
มอสตอสตัล-อาซอตือ แกนแจชึน-กอชแล
3–0 ฝรั่งเศส
ปารีส
2003–04 รัสเซีย
โลโคโมทิฟเบโลกอร์เรีย
3–0 รัสเซีย
อิสกราโอดินต์โซโว
ฝรั่งเศส
ตูร์เวบี
3–2 กรีซ
อิราคลิส
2004–05 ฝรั่งเศส
ตูร์เวบี
3–1 กรีซ
อิราคลิส
รัสเซีย
โลโคโมทิฟเบโลกอร์เรีย
3–0 เยอรมนี
ฟรีดริชส์ฮาเฟิน
2005–06 อิตาลี
ซิสลีย์เตรวีโซ
3–1 กรีซ
อิราคลิส
รัสเซีย
โลโคโมทิฟเบโลกอร์เรีย
3–1 รัสเซีย
ดีนาโมมอสโก
2006–07 เยอรมนี
ฟรีดริชส์ฮาเฟิน
3–1 ฝรั่งเศส
ตูร์วีบี
รัสเซีย
ดีนาโมมอสโก
3–0 อิตาลี
ลูเบบันกามาร์เกมาเซราตา
2007–08 รัสเซีย
ดีนาโมตัตตรันส์กัซคาซาน
3–2 อิตาลี
กอปราปิอาเซนซา
โปแลนด์
สกราแบวคาตุฟ
3–2 อิตาลี
ซิสลีย์เตรวีโซ
2008–09 อิตาลี
เตรนตีโน
3–1 กรีซ
อิราคลิส
รัสเซีย
อิสกราโอดินต์โซโว
3–2 อิตาลี
ลูเบบันกามาร์เกมาเซราตา
2009–10 อิตาลี
เบตกลิกเตรนตีโน
3–0 รัสเซีย
ดีนาโมมอสโก
โปแลนด์
สกราแบวคาตุฟ
3–1 สโลวีเนีย
เอซีเอช
2010–11 อิตาลี
เบตกลิกเตรนตีโน
3–1 รัสเซีย
เซนิต-คาซาน
รัสเซีย
ดีนาโมมอสโก
3–1 โปแลนด์
ยัสต์แชมสกีแวงกีแยล
2011–12 รัสเซีย
เซนิต-คาซาน
3–2 โปแลนด์
สกราแบวคาตุฟ
อิตาลี
ปลาเนตวิน365 เตรนตีโน
3–0 ตุรกี
อาร์คัส
2012–13 รัสเซีย
โลโคโมทิฟโนโวซีบิสค์
3–2 อิตาลี
ปีเยมอนเต
รัสเซีย
เซนิต-คาซาน
3–1 โปแลนด์
ซักซาแกนแจชึน-กอชแล
2013–14 รัสเซีย
เบโลกอร์เรีย
3–1 ตุรกี
ฮัลก์บังก์อังการา
โปแลนด์
ยัสต์แชมสกีแวงกีแยล
3–1 รัสเซีย
เซนิต-คาซาน
2014–15 รัสเซีย
เซนิต-คาซาน
3–0 โปแลนด์
อัสแซตซอแรซอเวียแชชุฟ
เยอรมนี
เบอร์ลินรีไซเคิลวอลลีย์ส
3–2 โปแลนด์
แปกีแยแอ สกราแบวคาตุฟ
2015–16 รัสเซีย
เซนิต-คาซาน
3–2 อิตาลี
เตรนตีโน ดีอาเตก
อิตาลี
ลูเบ กูชีเน ชีวีตาโนวา
3–2 โปแลนด์
อัสแซตซอแรซอเวียแชชุฟ
2016–17 รัสเซีย
เซนิต-คาซาน
3–0 อิตาลี
ซีร์ซีโกมาโกลุสซีเปรูจา
อิตาลี
ลูเบ กูชีเน ชีวีตาโนวา
3–1 เยอรมนี
เบอร์ลินรีไซเคิลวอลลีย์ส
2017–18 รัสเซีย
เซนิต-คาซาน
3–2 อิตาลี
ลูเบ กูชีเน ชีวีตาโนวา
อิตาลี
ซีร์ซีโกมาโกลุสซีเปรูจา
3–2 โปแลนด์
ซักซาแกนแจชึน-กอชแล
2018–19 อิตาลี
ลูเบ กูชีเน ชีวีตาโนวา
3–1 รัสเซีย
เซนิต-คาซาน
อิตาลี ซีร์ซีโกมาโกลุสซีเปรูจา
โปแลนด์ แปกีแยแอ สกราแบวคาตุฟ
2019–20 ยกเลิกเนื่องจากการระบาดทั่วของโควิด-19
2020–21 โปแลนด์
ซักซาแกนแจชึน-กอชแล
3–1 อิตาลี
อีตัส เตรนตีโน
อิตาลี ซีร์ซีโกมาโมนีนีเปรูจา
รัสเซีย เซนิต-คาซาน
2021–22 โปแลนด์
ซักซาแกนแจชึน-กอชแล
3–0 อิตาลี
อีตัส เตรนตีโน
โปแลนด์ ยัสต์แชมสกีแวงกีแยล
อิตาลี ซีร์ซีโกมาโมนีนีเปรูจา
2022–23 โปแลนด์
ซักซาแกนแจชึน-กอชแล
3–2 โปแลนด์
ยัสต์แชมสกีแวงกีแยล
ตุรกี ฮัลก์บังก์อังการา
อิตาลี ซีร์ซีโกมาโมนีนีเปรูจา

สถิติการแข่งขัน[แก้]

ทีมชนะเลิศแบ่งตามสโมสร[แก้]

อันดับ สโมสร ชนะเลิศ รองชนะเลิศ ปีที่ชนะเลิศ
1. สหภาพโซเวียต เซสกามอสโก 13 3 1960, 1962, 1973, 1974, 1975, 1977, 1982, 1983, 1986, 1987, 1988, 1989, 1991
2. รัสเซีย เซนิตคาซาน 6 2 2008, 2012, 2015, 2016, 2017, 2018
3. อิตาลี โมเดนาวอลเลย์ 4 4 1990, 1996, 1997, 1998
4. อิตาลี วอลเลย์เตรวีโซ 4 1 1995, 1999, 2000, 2006
5. โรมาเนีย ราปิดบูกูเรชต์ 3 4 1961, 1963, 1965
6. โรมาเนีย ดีนาโมบูกูเรชต์ 3 3 1966, 1967, 1981
7. อิตาลี เตรนตีโนวอลเลย์ 3 3 2009, 2010, 2011
8. อิตาลี ปอร์โตราเวนนาวอลเลย์ 3 1 1992, 1993, 1994
9. รัสเซีย เบโลกอร์เรีย เบลโกรอด 3 2003, 2004, 2014
= โปแลนด์ ซักซาแกนแจชึน-กอชแล 3 2021, 2022, 2023
11. อิตาลี ปัลลาโวโลปาร์มา 2 4 1984, 1985
12. เชโกสโลวาเกีย วอลเลย์บอลเบอร์โน 2 3 1968, 1972
13. อิตาลี วอลเลย์ลูเบ 2 1 2002, 2019
14. สหภาพโซเวียต บูเรเวสต์นิก อัลมา-อาตา 2 1970, 1971
15. เชโกสโลวาเกีย เชรเวนา ฮเวซดา บราติสลาวา 1 1 1979
= อิตาลี ปัลลาโวโลโตรีโน 1 1 1980
= ฝรั่งเศส ตูร์เวเบ 1 1 2005
= เยอรมนี เฟาเอฟเบ ฟรีดริชส์ฮาเฟิน 1 1 2007
19. เยอรมนีตะวันออก เอ็สเซ ไลพ์ซิช 1 1964
= บัลแกเรีย เซเซกาโซเฟีย 1 1969
= เชโกสโลวาเกีย ดุคลาลีเบเรซ 1 1976
= โปแลนด์ ปวอมีแยญีมีลอวิตซ์ 1 1978
= ฝรั่งเศส ปารีสวอลเลย์ 1 2001
= รัสเซีย โลโคโมติฟโนโวซีบิสค์ 1 2013
25. สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย คาออก มลาตอสต์ 3
= กรีซ อิราคลิสเทสซาโลนิกี 3
27. โรมาเนีย สเตอัวบูกูเรชต์ 2
= เบลเยียม โนลิโก มาไซก์ 2
= กรีซ โอลิมเปียกอส 2
= โปแลนด์ อัสแซกอแรซอเวีย 2
31. บัลแกเรีย มินยอร์เปร์นิก 1
= เนเธอร์แลนด์ อาแอ็มฟเวเย อัมสเติลวีน 1
= บัลแกเรีย สลาเวียโซเฟีย 1
= เนเธอร์แลนด์ สตาร์ลิฟท์ โวร์บูร์ก 1
= ฝรั่งเศส อาแอ็สกาน 1
= ฝรั่งเศส เฟรฌุซ 1
37. เยอรมนี อาเอาเฟา ดาเคา 1
= สเปน อูนิกาฆา อัลเมริอา 1
= รัสเซีย อิสกราโอดินต์โซโว 1
= อิตาลี วอลเลย์ปิอาเซนซา 1
= รัสเซีย ดีนาโมมอสโก 1
= โปแลนด์ แปกีแยแอ สกราแบวคาตุฟ 1
= อิตาลี ปีเยมอนเตวอลเลย์ 1
= ตุรกี ฮัลก์บังก์อังการา 1
= อิตาลี ซีร์ซาเฟตีเปรูจา 1
= โปแลนด์ ยัสต์แชมสกีแวงกีแยล 1

ทีมชนะเลิศแบ่งตามประเทศ[แก้]

อันดับ ประเทศ ชนะเลิศ รองชนะเลิศ รวม
1 ธงของประเทศอิตาลี อิตาลี 19 18 37
2  สหภาพโซเวียต 15 3 18
3 ธงของประเทศรัสเซีย รัสเซีย 10 4 14
4 ธงของประเทศโรมาเนีย โรมาเนีย 6 9 15
5 ธงของเชโกสโลวาเกีย เชโกสโลวาเกีย 4 4 8
ธงของประเทศโปแลนด์ โปแลนด์ 4 4 8
7 ธงของประเทศฝรั่งเศส ฝรั่งเศส 2 3 5
8 ธงของประเทศบัลแกเรีย บัลแกเรีย 1 2 3
ธงของประเทศเยอรมนี เยอรมนี 1 2 3
10 ธงของสาธารณรัฐประชาธิปไตยเยอรมนี เยอรมนีตะวันออก 1 1
11 ธงของประเทศกรีซ กรีซ 5 5
12 ยูโกสลาเวีย 3 3
13 ธงของประเทศเบลเยียม เบลเยียม 2 2
ธงของประเทศเนเธอร์แลนด์ เนเธอร์แลนด์ 2 2
15 ธงของประเทศสเปน สเปน 1 1
ธงของประเทศตุรกี ตุรกี 1 1

ผู้เล่นทรงคุณค่า[แก้]

ดูเพิ่ม[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]