กีฬาเครือจักรภพ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
กีฬาเครือจักรภพ
Commonwealth Games
ตราสัญลักษณ์ของสหพันธ์กีฬาเครือจักรภพ
ชื่อย่อCG
คำขวัญHumanity—Equality—Destiny[1]
ก่อตั้งกีฬาจักรวรรดิบริติช
ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2473
ลอนดอน สหราชอาณาจักรสหราชอาณาจักร
จัดขึ้นทุก4 ปี
วัตถุประสงค์กีฬาสำหรับประเทศเครือจักรภพ
สำนักงานใหญ่ลอนดอน, อังกฤษ
เว็บไซต์สหพันธ์กีฬาเครือจักรภพ

กีฬาเครือจักรภพ (อังกฤษ: Commonwealth Games) เป็นการแข่งขันกีฬาที่จัดขึ้นในกลุ่มประเทศเครือจักรภพทุก 4 ปี ดูแลการจัดแข่งขันโดย สหพันธ์กีฬาเครือจักรภพ (Commonwealth Games Federation; CGF) ซึ่งควบคุมกำหนดการแข่งขัน และคัดเลือกเมืองเจ้าภาพ จากเมืองในประเทศเครือจักรภพที่เสนอชื่อ การแข่งขันนี้มีชื่อเดิมว่า กีฬาจักรวรรดิบริติช จัดขึ้นเป็นครั้งแรก ที่เมืองแฮมิลตัน รัฐออนแทรีโอ ประเทศแคนาดา ระหว่างวันที่ 1623 สิงหาคม ค.ศ. 1930 (พ.ศ. 2473) หลังจากการแข่งขันกีฬาจักรวรรดิบริติช ครั้งที่ 3 ปี ค.ศ. 1942 และปี ค.ศ. 1946 ได้ถูกยกเลิกไปอันเนื่องมาจากเหตุการณ์สงครามโลกครั้งที่ 2 และดำเนินจัดการแข่งขันอีกครั้งในปี ค.ศ. 1950

การจัดการแข่งขัน[แก้]

ครั้งที่ ปี เมืองเจ้าภาพ ประเทศเจ้าภาพ พิธีเปิด พิธีปิด ชนิดกีฬา รอบแข่งขัน ประเทศเข้าร่วม นักกีฬา จ้าวเหรียญทอง
กีฬาชิงแชมป์ระหว่างจักรวรรดิ (Inter-Empire Championships)
* 1911 สหราชอาณาจักร ลอนดอน สหราชอาณาจักร 12 พฤษภาคม 1 มิถุนายน 4 9 4 - แคนาดา แคนาดา
กีฬาจักรวรรดิบริติช (British Empire Games)
1 1930 แคนาดา แฮมมิลตัน แคนาดา 16 สิงหาคม 23 สิงหาคม 6 59 11 400  อังกฤษ
2 1934 อังกฤษ ลอนดอน อังกฤษ 4 สิงหาคม 11 สิงหาคม 6 68 16 500  อังกฤษ
3 1938 ออสเตรเลีย ซิดนีย์ ออสเตรเลีย 5 กุมภาพันธ์ 12 กุมภาพันธ์ 7 71 15 464 ธงของประเทศออสเตรเลีย ออสเตรเลีย
1938 แคนาดา มอนทรีออล แคนาดา ถูกยกเลิกเนื่องจากเกิดสงครามโลกครั้งที่สอง[2]
1946 เวลส์ คาร์ดิฟฟ์ เวลส์
4 1950 นิวซีแลนด์ ออกแลนด์ นิวซีแลนด์ 4 กุมภาพันธ์ 11 กุมภาพันธ์ 9 88 12 590 ธงของประเทศออสเตรเลีย ออสเตรเลีย
กีฬาจักรวรรดิบริติชและเครือจักรภพ (British Empire and Commonwealth Games)
5 1954 แคนาดา แวนคูเวอร์ แคนาดา 30 กรกฎาคม 7 สิงหาคม 9 91 24 662  อังกฤษ
6 1958 เวลส์ คาร์ดิฟฟ์ เวลส์ 18 กรกฎาคม 26 กรกฎาคม 9 94 36 1122  อังกฤษ
7 1962 ออสเตรเลีย เพิร์ท ออสเตรเลีย 22 พฤศจิกายน 1 ธันวาคม 9 104 35 863 ธงของประเทศออสเตรเลีย ออสเตรเลีย
8 1966 จาเมกา คิงส์ตัน จาเมกา 4 สิงหาคม 13 สิงหาคม 9 110 34 1050  อังกฤษ
กีฬาเครือจักรวรรดิบริติช (British Commonwealth Games)
9 1970 สกอตแลนด์ เอดินบะระ สกอตแลนด์ 16 กรกฎาคม 25 กรกฎาคม 9 121 42 1383 ธงของประเทศออสเตรเลีย ออสเตรเลีย
10 1974 นิวซีแลนด์ ไครสต์เชิร์ช นิวซีแลนด์ 24 มกราคม 2 กุมภาพันธ์ 9 121 38 1276 ธงของประเทศออสเตรเลีย ออสเตรเลีย
กีฬาเครือจักรภพ (Commonwealth Games)
11 1978 แคนาดา เอดมันตัน แคนาดา 3 สิงหาคม 12 สิงหาคม 10 128 46 1474 ธงของประเทศแคนาดา แคนาดา
12 1982 ออสเตรเลีย บริสเบน ออสเตรเลีย 30 กันยายน 9 ตุลาคม 10 142 46 1583 ธงของประเทศออสเตรเลีย ออสเตรเลีย
13 1986 สกอตแลนด์ เอดินบะระ สกอตแลนด์ 24 กรกฎาคม 2 สิงหาคม 10 163 26 1662  อังกฤษ
14 1990 นิวซีแลนด์ ออกแลนด์ นิวซีแลนด์ 24 มกราคม 3 กุมภาพันธ์ 10 204 55 2073 ธงของประเทศออสเตรเลีย ออสเตรเลีย
15 1994 แคนาดา วิกตอเรีย แคนาดา 18 สิงหาคม 28 สิงหาคม 10 217 63 2557 ธงของประเทศออสเตรเลีย ออสเตรเลีย
16 1998 มาเลเซีย กัวลาลัมเปอร์ มาเลเซีย 11 กันยายน 21 กันยายน 152 213 70 3633 ธงของประเทศออสเตรเลีย ออสเตรเลีย
17 2002 อังกฤษ แมนเชสเตอร์ อังกฤษ 25 กรกฎาคม 4 สิงหาคม 171 281 72 3679 ธงของประเทศออสเตรเลีย ออสเตรเลีย
18 2006 ออสเตรเลีย เมลเบิร์น ออสเตรเลีย 15 มีนาคม 26 มีนาคม 162 245 71 4049 ธงของประเทศออสเตรเลีย ออสเตรเลีย*
19 2010 อินเดีย เดลี อินเดีย 3 ตุลาคม 14 ตุลาคม 171 272 71 6081 ธงของประเทศออสเตรเลีย ออสเตรเลีย
20 2014 สกอตแลนด์ กลาสโกว์ สกอตแลนด์ 23 กรกฎาคม 3 สิงหาคม 171 261 71 4947  อังกฤษ
21 2018 ออสเตรเลีย โกลด์โคสต์ ออสเตรเลีย 4 เมษายน 15 เมษายน 19 275 71 4426 ธงของประเทศออสเตรเลีย ออสเตรเลีย
22 2022 อังกฤษ เบอร์มิงแฮม อังกฤษ 18 กรกฎาคม 31 กรกฎาคม 20 283 72
23 2026 TBA TBA
24 2030 TBA TBA

หมายเหตุ 1รวม 3 ทีมกีฬา 2รวม 4 ทีมกีฬา

อ้างอิง[แก้]

  1. http://www.thecgf.com/
  2. The Complete Book of The Commonwealth Games (Gold Coast Edition) by Graham Groom (2017)

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]