ข้ามไปเนื้อหา

รักบี้ยูเนียนทีมชาติญี่ปุ่น

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ญี่ปุ่น
สมาคมสหพันธ์รักบี้ฟุตบอลญี่ปุ่น
ฉายาThe Cherry Blossoms / Brave Blossoms
สัญลักษณ์ซากุระ
ผู้ฝึกสอนเจมี โจเซพท์
กัปตันไมเคิล ไลทช์
ติดทีมชาติสูงสุดฮิโทชิ โอโนะ (96)
ผู้ทำคะแนนสูงสุดอายูมุ โงโรมารุ (695)
ทรัยส์สูงสุดไดซูเกะ โอฮาตะ (69)[1]
Team kit
Change kit
เกมระดับนานาชาติครั้งแรก
ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น 9 – 8 แคนาดา ธงชาติแคนาดา
(31 มกราคม ค.ศ. 1932)
ชนะสูงสุด
ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น 155 – 3 จีนไทเป ธงชาติจีนไทเป
(1 ค.ศ. 2002)
แพ้สูงสุด
ธงชาตินิวซีแลนด์ นิวซีแลนด์ 145 – 17 ญี่ปุ่น ธงชาติญี่ปุ่น
(4 ค.ศ. 1995)
รักบี้ชิงแชมป์โลก
เข้าร่วม7 (ครั้งแรกใน 1987)
ผลงานดีที่สุดชัยชนะสามเกมที่เจอกับ ธงชาติแอฟริกาใต้ แอฟริกาใต้, ธงชาติซามัว ซามัว & ธงชาติสหรัฐ สหรัฐ ในปี2015

รักบี้ยูเนียนทีมชาติญี่ปุ่น (ญี่ปุ่น: ラグビー日本代表) เป็นตัวแทนของประเทศญี่ปุ่นในการแข่งขันรักบี้ยูเนียนระหว่างประเทศ

ประวัติ

[แก้]

สถิติ

[แก้]

สถิติรักบี้ชิงแชมป์โลก

[แก้]
สถิติรักบี้ชิงแชมป์โลก สถิติรักบี้ชิงแชมป์โลกรอบคัดเลือก
ปี รอบ แข่ง ชนะ เสมอ แพ้ จุดได้ จุดเสีย แข่ง ชนะ เสมอ แพ้ จุดได้ จุดเสีย
ออสเตรเลียนิวซีแลนด์ 1987 รอบแบ่งพูล 3 0 0 3 48 123 เข้ารอบอัตโนมัติ
สหราชอาณาจักรสาธารณรัฐไอร์แลนด์ฝรั่งเศส 1991 รอบแบ่งพูล 3 1 0 2 77 87 3 2 0 1 65 63
แอฟริกาใต้ 1995 รอบแบ่งพูล 3 0 0 3 55 252 4 4 0 0 210 52
เวลส์ 1999 รอบแบ่งพูล 3 0 0 3 36 140 3 3 0 0 221 25
ออสเตรเลีย 2003 รอบแบ่งพูล 4 0 0 4 79 163 4 4 0 0 420 47
ฝรั่งเศส 2007 รอบแบ่งพูล 4 0 1 3 64 210 6 6 0 0 379 60
นิวซีแลนด์ 2011 รอบแบ่งพูล 4 0 1 3 69 184 4 4 0 0 326 30
อังกฤษ 2015 รอบแบ่งพูล 4 3 0 1 98 100 8 8 0 0 658 41
ญี่ปุ่น 2019 ยังไม่เกิดขึ้น เข้ารอบอัตโนมัติ
รวม 8/8 28 4 2 22 526 1259 32 31 0 1 2279 318

สถิติรักบี้ชิงแชมป์แห่งชาติเอชีย

[แก้]
สถิติรักบี้ชิงแชมป์แห่งชาติเอชีย
ปี รอบ แข่ง ชนะ เสมอ แพ้ จุดได้ จุดเสีย
ญี่ปุ่น 1969 ชนะเลิศ 4 4 0 0 191 35
ไทย 1970 ชนะเลิศ 3 3 0 0 111 39
ฮ่องกง 1972 ชนะเลิศ 4 4 0 0 167 4
ศรีลังกา 1974 ชนะเลิศ 4 4 0 0 140 37
ญี่ปุ่น 1976 ชนะเลิศ 4 4 0 0 194 21
มาเลเซีย 1978 ชนะเลิศ 3 3 0 0 97 30
สาธารณรัฐจีน 1980 ชนะเลิศ 4 4 0 0 265 21
สิงคโปร์ 1982 รองชนะเลิศ 4 3 0 1 112 30
ญี่ปุ่น 1984 ชนะเลิศ 4 4 0 0 202 23
ไทย 1986 รองชนะเลิศ 4 2 0 2 232 54
ฮ่องกง 1988 รองชนะเลิศ 4 3 0 1 223 43
ศรีลังกา 1990 รองชนะเลิศ 4 3 0 1 200 34
ฮ่องกง 1992 ชนะเลิศ 3 3 0 0 225 12
มาเลเซีย 1994 ชนะเลิศ 3 3 0 0 226 17
สาธารณรัฐจีน 1996 ชนะเลิศ 2 2 0 0 242 22
สิงคโปร์ 1998 ชนะเลิศ 3 3 0 0 221 25
ญี่ปุ่น 2000 ชนะเลิศ 3 3 0 0 164 41
ไทย 2002 รองชนะเลิศ 3 2 0 1 93 54
ฮ่องกง 2004 ชนะเลิศ 2 2 0 0 69 12
ฮ่องกง 2006–07 ชนะเลิศ 2 2 0 0 106 3
ฮ่องกงญี่ปุ่นคาซัคสถานประเทศกาตาร์เกาหลีใต้สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ 2008 ชนะเลิศ 4 4 0 0 310 58
ฮ่องกงญี่ปุ่นคาซัคสถานสิงคโปร์เกาหลีใต้ 2009 ชนะเลิศ 4 4 0 0 271 40
บาห์เรนฮ่องกงญี่ปุ่นคาซัคสถานเกาหลีใต้สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ 2010 ชนะเลิศ 4 4 0 0 326 30
ฮ่องกงญี่ปุ่นคาซัคสถานศรีลังกาสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ 2011 ชนะเลิศ 4 4 0 0 307 35
ฮ่องกงญี่ปุ่นคาซัคสถานเกาหลีใต้สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ 2012 ชนะเลิศ 4 4 0 0 312 11
ฮ่องกงญี่ปุ่นฟิลิปปินส์เกาหลีใต้สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ 2013 ชนะเลิศ 4 4 0 0 316 8
ฮ่องกงญี่ปุ่นฟิลิปปินส์เกาหลีใต้ศรีลังกา 2014 ชนะเลิศ 4 4 0 0 342 33
ฮ่องกงญี่ปุ่นเกาหลีใต้ 2015 ชนะเลิศ 4 3 1 0 163 40
รวท 23 ครั้ง 99 92 1 6 5827 812

อ้างอิง

[แก้]
  1. This is his total number of tries for Japan. His total against Test sides is 67. For more details, see List of leading Rugby union Test try scorers.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]