พาราลิมปิกฤดูร้อน 2020
เมืองเจ้าภาพ | โตเกียว, ประเทศญี่ปุ่น |
---|---|
คำขวัญ | United by Emotion[a] |
ประเทศเข้าร่วม | 162 รวมทีมนักกีฬาผู้ลี้ภัย[2] และคณะกรรมการพาราลิมปิกรัสเซีย[b] |
นักกีฬาเข้าร่วม | 4,403 คน[2] |
ชนิด | 539 ประเภท ใน 22 ชนิด |
พิธีเปิด | 24 สิงหาคม 2021 |
พิธีปิด | 5 กันยายน 2021 |
ประธานพิธีเปิด | |
ผู้จุดคบเพลิง | ยูอิ คามิจิ คาริน โมริซากิ ชุนซูเกะ อูจิดะ |
สนามกีฬา | กรีฑาสถานแห่งชาติญี่ปุ่น |
ฤดูร้อน ฤดูหนาว
โอลิมปิกฤดูร้อน 2020 |
![]() |
เป็นส่วนหนึ่งของ |
พาราลิมปิกฤดูร้อน 2020 (ญี่ปุ่น: 東京2020パラリンピック競技大会; โรมาจิ: Tōkyō Nizeronizero Pararinpikku Kyōgi Taikai) เป็นมหกรรมกีฬานานาชาติสำหรับคนพิการซึ่งจัดขึ้นระหว่างวันที่ 24 สิงหาคม ถึง 5 กันยายน พ.ศ. 2564 ที่โตเกียว ประเทศญี่ปุ่น[4] นับเป็นครั้งที่ 2 ที่โตเกียวเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันพาราลิมปิกฤดูร้อน ต่อจากครั้งแรกในปี พ.ศ. 2507 และโตเกียวเป็นเมืองแรกในประวัติศาสตร์พาราลิมปิกที่เป็นเจ้าภาพการแข่งขันพาราลิมปิกฤดูร้อนมากกว่าหนึ่งครั้ง
เดิมกำหนดจะจัดขึ้นระหว่างวันที่ 25 สิงหาคม ถึง 5 กันยายน พ.ศ. 2563 แต่ถูกเลื่อนออกไปเป็นเวลา 1 ปี เนื่องจากการระบาดทั่วของโควิด-19 แม้ว่าการแข่งขันจะจัดขึ้นในปี พ.ศ. 2564 แต่ยังคงเป็นชื่อเดิม คือ โตเกียว 2020 เพื่อวัตถุประสงค์ทางการตลาด นับเป็นครั้งแรกที่กีฬาพาราลิมปิกถูกเลื่อนออกไปและกำหนดเวลาใหม่
สัญลักษณ์[แก้]
![]() | ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
สัญลักษณ์ประจำการแข่งขัน[แก้]
คำขวัญ[แก้]
สัตว์นำโชค[แก้]
เพลงประจำการแข่งขัน[แก้]
การวิ่งคบเพลิง[แก้]
![]() | ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
สนามแข่งขัน[แก้]
![]() | ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ชนิดกีฬาที่แข่งขัน[แก้]
การแข่งขันกีฬาพาราลิมปิกครั้งนี้ มีกีฬาที่จัดแข่งขันทั้งสิ้น 22 ชนิด โดยมีกีฬาที่ได้รับการบรรจุใหม่ในครั้งนี้เพิ่มอีก 2 ชนิดคือ กีฬาเรือแคนูและไตรกีฬา
|
|
|
ประเทศที่เข้าร่วมแข่งขัน[แก้]
ณ วันที่ 20 สิงหาคม พ.ศ. 2564 มี 163 ประเทศที่นักกีฬาผ่านการคัดเลือกอย่างน้อย 1 คน และมี 5 ประเทศที่เข้าร่วมการแข่งขันพาราลิมปิกครั้งแรก ได้แก่ ภูฏาน กายอานา ปารากวัย เซนต์วินเซนต์และเกรนาดีนส์ และเซาตูเมและปรินซิปี ในขณะที่หมู่เกาะโซโลมอนจะเข้าร่วมครั้งที่สองหลังจากพลาดการแข่งขันพาราลิมปิกฤดูร้อน 2016
- ↑ Only an English version motto is used during the Games. The Japanese equivalent of the motto was not adopted.[1]
- ↑ Originally, each Russian athlete participated as an individual qualification, so such a special note corresponding to the nation is not an appropriate description.[3]
- ↑ นักกีฬาเป็นกลางจากรัสเซียแข่งขันภายใต้ธงของคณะกรรมการพาราลิมปิกรัสเซีย
จำนวนนักกีฬาตามคณะกรรมการพาราลิมปิกแห่งชาติ[แก้]
ข้อมูลเมื่อ 8 กันยายน ค.ศ. 2019[update]:
สรุปเหรียญการแข่งขัน[แก้]
สรุปเหรียญพาราลิมปิกฤดูร้อน 2020
อ้างอิง[แก้]
- ↑ "'United by Emotion' to be the Tokyo 2020 Games Motto". Tokyo2020.org. Tokyo Organising Committee of the Olympic and Paralympic Games.
- ↑ 2.0 2.1 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อnumbers
- ↑ "What is the ROC? Why Russia Can't Compete At the Tokyo Olympics". TIME. 2021-07-26. สืบค้นเมื่อ 2021-09-07.
under the International Olympic Committee’s (IOC) rules, they’re prohibited from displays of national representation in any form.
- ↑ "Tokyo Olympics and Paralympics: New dates confirmed for 2021". BBC Sport. 30 March 2020. สืบค้นเมื่อ 30 March 2020.
![]() |
บทความเกี่ยวกับกีฬา นักกีฬา หรือทีมกีฬานี้ยังเป็นโครง คุณสามารถช่วยวิกิพีเดียได้โดยการเพิ่มเติมข้อมูล ดูเพิ่มที่โครงการวิกิกีฬา |