สโมสรฟุตบอลเซี่ยงไฮ้พอร์ต

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
สโมสรฟุตบอลเซี่ยงไฮ้พอร์ต
Shànghǎi Shànggǎng
上海上港
ชื่อเต็มสโมสรฟุตบอลกลุ่มท่าเรือระหว่างประเทศเซี่ยงไฮ้
上海上港集团足球俱乐部
ฉายา中国红魔 ปีศาจแดงจีน
ก่อตั้ง25 December 2005; 18 ปีก่อน (25 December 2005)
สนามผู่ตงสเตเดียม
ความจุ37,000 ที่นั่ง
เจ้าของกลุ่มท่าเรือระหว่างประเทศเซี่ยงไฮ้
ประธานChen Xuyuan
ผู้ฝึกสอนสเปน Javier Pereira
ลีกไชนีสซูเปอร์ลีก
2022อันดับที่ 4
เว็บไซต์เว็บไซต์สโมสร
สีชุดทีมเยือน

สโมสรฟุตบอลเซี่ยงไฮ้พอร์ต หรือชื่อเดิม สโมสรฟุตบอลเซี่ยงไฮ้ เอสไอพีจี (จีน: 上海上港; พินอิน: Shànghǎi Shànggǎng; อ่านแบบแมนดาริน: [ʂâŋ xài ʂâŋ kàŋ]) เป็นสโมสรฟุตบอลอาชีพในประเทศจีน ปัจจุบันลงเล่นในไชนีสซูเปอร์ลีก ซึ่งอยู่ภายใต้การดูแลของสมาคมฟุตบอลจีน (CFA) สโมสรตั้งอยู่ที่เซี่ยงไฮ้ สนามเหย้าคือ ผู่ตงสเตเดียม ความจุ 37,000 ที่นั่ง เจ้าของสโมสรคือ กลุ่มท่าเรือระหว่างประเทศเซี่ยงไฮ้ (SIPG) ซึ่งจะปรากฏในชื่อของสโมสรในอดีต

สโมสรก่อตั้งเมื่อวันที่ 25 ธันวาคม ค.ศ. 2005 ในชื่อ สโมสรฟุตบอลเซี่ยงไฮ้ตงหยา (Dongya, จีน: 东亚; พินอิน: Dōngyà; แปลตรงตัว: "East Asia") โดยอดีตผู้ฝึกสอนทีมชาติจีน Xu Genbao และใช้ผู้เล่นที่จบหลักสูตรเยาวชนจาก Genbao มาไว้ในทีมชุดใหญ่ สโมสรเริ่มต้นกับลีกระดับที่สามในปี ค.ศ. 2006 และเลื่อนชั้นจนมาถึงลีกสูงสุด โดยได้อันดับที่ 2 ในฤดูกาล 2015 และต่อมาได้แชมป์ในฤดูกาล 2018

อ้างจาก Forbes เซี่ยงไฮ้ เอสไอพีจี เป็นสโมสรฟุตบอลที่มีมูลค่าสูงเป็นอันดับที่สามของประเทศจีน ซึ่งมากถึง 159 ล้านดอลลาร์ และมีรายได้ถึง 37 ล้านดอลลาร์ในปี ค.ศ.2015[1] และอ้างจากรายงานประจำปีของบริษัท สโมสรฟุตบอลมีรายได้ 565.7 ล้านหยวนในปีงบประมาณ 2015 และมีทรัพย์สินถึง 286.8 ล้านหยวน[2]

คู่ปรับ[แก้]

สนามกีฬาเซี่ยงไฮ้

คู่ปรับที่สำคัญคือเซี่ยงไฮ้ เสิ่นหัว ซึ่งเป็นคู่ปรับท้องถิ่นที่แข่งขันกันในดาร์บีเซี่ยงไฮ้ โดยผู้ก่อตั้งสโมสรอย่าง Xu Genbao เคยคุมทีมเสิ่นหัวคว้าแชมป์ลีกในฤดูกาล 1995[3] ต่อมาวันที่ 28 เมษายน ค.ศ. 2013 สองสโมสรมาพบกันในเกมลีกเป็นครั้งแรก และจบลงด้วยชัยชนะ 2–1 ของเสิ่นหัว[4] แต่ในดาร์บี้ครั้งถัดมา วันที่ 2 มิถุนายน ค.ศ. 2013 เอสไอพีจีสามารถถอนแค้นไปได้ 6–1[5] ผู้เล่นที่เคยลงเล่นให้กับทั้งสองสโมสรได้แก่ Jiang Zhipeng และ Wang Jiayu

สโมสรคู่ปรับอื่น ๆ อาทิ หางโจวกรีนทาวน์ และเจียงซูซูหนิง โดยการพบกันของทั้งสามสโมสร จะถูกเรียกว่า ดาร์บีดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำแยงซี[6]

ผู้เล่นชุดปัจจุบัน[แก้]

ณ วันที่ 16 เมษายน 2023[7]

หมายเหตุ: ธงชาติที่ปรากฏบ่งบอกให้ทราบว่าผู้เล่นคนนั้นสามารถเล่นให้กับชาติใดตามกฎของฟีฟ่าตามความเหมาะสม เพราะผู้เล่นบางคนอาจถือสองสัญชาติ

เลข ตำแหน่ง สัญชาติ ผู้เล่น
1 GK จีน Yan Junling
2 DF จีน Li Ang
3 DF จีน Jiang Guangtai
4 DF จีน Wang Shenchao
5 DF จีน Zhang Linpeng
6 MF จีน Cai Huikang
7 FW จีน อู๋ เหล่ย์
8 MF บราซิล โอสการ์
9 MF บราซิล เปาลินโญ
10 FW ออสเตรีย Markus Pink
11 FW จีน Lü Wenjun
12 GK จีน Chen Wei
13 DF จีน Wei Zhen
14 FW จีน Li Shenglong
15 DF จีน Li Shenyuan
16 MF จีน Xu Xin
17 FW จีน Chen Binbin
20 MF จีน Yang Shiyuan
เลข ตำแหน่ง สัญชาติ ผู้เล่น
21 MF จีน Yu Hai
22 GK จีน Du Jia
24 FW อาร์เจนตินา Matías Vargas
25 MF จีน Mirahmetjan Muzepper
27 MF จีน Feng Jin
28 DF จีน He Guan
29 DF จีน Zhang Huachen
31 GK จีน Xi Anjie
32 DF จีน Li Shuai
33 FW จีน Liu Zhurun
34 FW เซียร์ราลีโอน Issa Kallon
36 DF จีน Yu Hao
41 GK จีน Liang Kun
42 DF จีน Xiang Rongjun
43 DF จีน Wang Yiwei
44 DF จีน Lü Kun
45 FW จีน Liu Xialong

ทีมงาน[แก้]

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่
หัวหน้าผู้ฝึกสอน โครเอเชีย อีวาน เลโก
ผู้ช่วยผู้ฝึกสอน
โค้ชผู้รักษาประตู อังกฤษ Ian Walker
โค้ชเทคนิค จีน Xie Hui
โค้ชกายภาพ โปรตุเกส Pedro Silva
นักกายภาพบำบัด บราซิล Eduardo Santos
ประธานฝ่ายเทคนิค เดนมาร์ก Mads Davidsen
หัวหน้าผู้ฝึกสอนทีมสำรอง จีน Cheng Yaodong
ผู้ช่วยผู้ฝึกสอนทีมสำรอง จีน Qiu Jingwei
ผู้ช่วยผู้ฝึกสอนทีมสำรอง จีน Cai Huiqiang
นักกายภาพบำบัดทีมสำรอง จีน He Hanxue

อ้างอิง: SIPG

รายชื่อผู้จัดการทีม[แก้]

ณ วันที่ 4 พฤศจิกายน ค.ศ. 2020[8][9]

เกียรติประวัติ[แก้]

สถิติ[แก้]

ผลงานแบ่งตามฤดูกาล[แก้]

ณ วันที่ ฤดูกาล 2017[11][12]
ฤดูกาล ระดับลีก แข่ง ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน อันดับ เอฟเอคัพ ซูเปอร์คัพ เอซีแอล ผู้ชม (เฉลี่ย) สนาม
2006 3 16 3 5 8 26 29 −3 14 7 Genbao Football Base Arena
2007 3 17 11 4 2 35 15 +20 30 1
2008 2 24 7 7 10 26 30 −4 28 6 Jinshan Sports Centre
2009 2 24 13 5 6 43 25 +18 44 4 สนามกีฬาเซี่ยงไฮ้
2010 2 24 9 10 5 25 18 +7 37 4
2011 2 26 7 11 8 29 25 +4 32 9 รอบสอง
2012 2 30 17 8 5 47 25 +22 59 1 รอบสาม 3,113
2013 1 30 10 7 13 38 35 3 37 9 รอบสี่ 10,161
2014 1 30 12 12 6 47 39 8 48 5 รอบสาม 12,460
2015 1 30 19 8 3 63 35 28 65 2 รอบก่อนรองชนะเลิศ 26,381
2016 1 30 14 10 6 56 32 24 52 3 รอบสี่ รอบก่อนรองชนะเลิศ 28,012
2017 1 30 17 7 6 72 39 33 58 2 รองชนะเลิศ รอบรองชนะเลิศ 29,174
2018 1 30
  • ^ก รอบแบ่งกลุ่ม

การแข่งขันระดับทวีป[แก้]

ฤดูกาล การแข่งขัน รอบ คู่แข่ง เหย้า เยือน
2016[13] เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก เพลย์ออฟ ไทย เอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด 3–0
รอบแบ่งกลุ่ม ออสเตรเลีย เมลเบิร์น วิกตอรี 3–1 1–2
เกาหลีใต้ ซูว็อนซัมซุงบลูวิงส์ 2–1 0–3
ญี่ปุ่น กัมบะ โอซะกะ 2–1 2–0
รอบ 16 ทีมสุดท้าย ญี่ปุ่น เอฟซี โตเกียว 1–0 1–2
รอบก่อนรองชนะเลิศ เกาหลีใต้ ช็อนบุกฮุนไดมอเตอส์ 0–0 0–5
2017 เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก เพลย์ออฟ ไทย สุโขทัย 3–0
รอบแบ่งกลุ่ม เกาหลีใต้ เอฟซี โซล 4–2 1–0
ออสเตรเลีย Western Sydney Wanderers 5–1 2–3
ญี่ปุ่น อุระวะ เรดไดมอนส์ 3–2 0–1
รอบ 16 ทีมสุดท้าย จีน เจียงซูซูหนิง 2–1 3–2
รอบก่อนรองชนะเลิศ จีน กว่างโจวเอเวอร์แกรนด์ 4–0 1–5
(หลังต่อเวลาพิเศษ)
(5–4 ลูกโทษ)
รอบรองชนะเลิศ ญี่ปุ่น อุระวะ เรดไดมอนส์ 1–1 0–1
2018 เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก เพลย์ออฟ ไทย เชียงราย ยูไนเต็ด 1–0
รอบแบ่งกลุ่ม ออสเตรเลีย เมลเบิร์น วิกตอรี 4–1 1–2
ญี่ปุ่น คะวะซะกิ ฟรอนตาเล 1–1 1–0
เกาหลีใต้ อุลซันฮุนได 2–2 1–0
รอบ 16 ทีมสุดท้าย ญี่ปุ่น คะชิมะแอนต์เลอส์
2–1
1–3
2019 เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก Group stage ญี่ปุ่น Kawasaki Frontale
1–0
2–2
เกาหลีใต้ Ulsan Hyundai
5–0
0–1
ออสเตรเลีย Sydney FC
2–2
3–3
Round of 16 เกาหลีใต้ Jeonbuk Hyundai Motors
1–1
1–1
(a.e.t.)
(5–3 p)
Quarter–finals ญี่ปุ่น Urawa Red Diamonds
2–2
1–1 (a)
2020 เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก Play-off round ไทย Buriram United
3–0
Group stage ออสเตรเลีย Sydney FC
0–4
2–1
เกาหลีใต้ Jeonbuk Hyundai Motors
0–2
2–1
ญี่ปุ่น Yokohama F. Marinos
0–1
2–1
Round of 16 ญี่ปุ่น Vissel Kobe
0–2
2021 เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก Play-off round ฟิลิปปินส์ Kaya–Iloilo
0–1

อันดับสโมสรเอเชีย[แก้]

ณ วันที่ 1 เมษายน ค.ศ. 2018[14]
อันดับ ประเทศ สโมสร
8 สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ Al-Ain
9 ญี่ปุ่น คะวะซะกิ ฟรอนตาเล
10 ประเทศกาตาร์ Al-Sadd
11 จีน เซี่ยงไฮ้ เอสไอพีจี
12 อิหร่าน Esteghlal F.C.
13 เกาหลีใต้ ซูว็อนบลูวิงส์
14 ญี่ปุ่น อุระวะ เรดไดมอนส์

อ้างอิง[แก้]

  1. "Chinese Soccer's Most Valuable Teams". Forbes. สืบค้นเมื่อ 14 August 2016.
  2. "2015 Annual Report" (PDF) (ภาษาจีน). Shanghai Shanghai International Port Group. 29 March 2016. สืบค้นเมื่อ 13 July 2017.
  3. "Spectacular Comeback Once More As Shenhua Snatch Shanghai Derby Win". wildeastfootball.net. 2013-04-29. สืบค้นเมื่อ 2015-09-22.
  4. "SHANGHAI SHENHUA VS. PORT SHANGHAI 2–1". uk.soccerway.com. 2013-04-28. สืบค้นเมื่อ 2015-09-22.
  5. "武磊帽子戏法吕文君2球 东亚客战6–1申鑫". sports.sohu.com. 2013-06-02. สืบค้นเมื่อ 2015-09-22.
  6. "Attending A Shanghai Shenhua Match: A First Time Visitor's Guide". wildeastfootball.net. 2015-02-11. สืบค้นเมื่อ 2015-09-22.
  7. "海港新赛季大名单:四大外援在列,张琳芃5号,徐新16号". Dongqiudi. 24 May 2022. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 26 June 2022. สืบค้นเมื่อ 24 May 2022.
  8. "Shanghai SIPG » Manager history". worldfootball.net. สืบค้นเมื่อ 2015-06-16.
  9. "Shanghai East Asia FC". footballzz.co.uk. สืบค้นเมื่อ 2015-06-16.[ลิงก์เสีย]
  10. "CHINA LEAGUE ONE– 2012". uk.soccerway.com. สืบค้นเมื่อ 2015-11-09.
  11. "China– List of Champions". rsssf.com. 10 Oct 2013. สืบค้นเมื่อ 31 January 2014.
  12. "上海东亚". sodasoccer.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-12-03. สืบค้นเมื่อ 31 January 2014.
  13. "Asian Club Competitions 2016". rsssf.com. 2017-02-02. สืบค้นเมื่อ 2017-02-22.
  14. "Asia Football / Soccer Clubs Ranking". FootballDatabase.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]