ผู้ใช้:ยุทธนาสาระขันธ์/ทดลองเขียน14

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

หม่อมหลวงปุ่ม มาลากุล[แก้]

หลังจากสงครามอินโดจีนฝรั่งเศส เพื่อเชิดชูเกียรติ และรำลึกถึงคุณงามความดีของทหาร ตำรวจ พลเรือน ที่สละชีพในสงครามอินโดจีนฝรั่งเศส ช่วง พ.ศ. 2482-2483 รัฐบาลจึงมีมติให้สร้างอนุสาวรีย์รำลึกถึงผู้ที่เสียชีวิต

ผู้ออกแบบและแนวคิด ผู้ออกแบบอนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิคือ ม.ล.ปุ่ม มาลากุล สถาปนิกกรมโยธาเทศบาล เป็นบุตรของเจ้าพระยาธรรมากรณาธิบดี (ม.ร.ว.ปุ้ม มาลากุล) เสนาบดีกระทรวงวังในสมัยรัชกาลที่ 5 และ 6 เมื่อยังเยาว์ศึกษาที่โรงเรียนเทพศิรินทร์และโรงเรียนอัสสัมชัญ แผนกภาษาฝรั่งเศส และได้รับพระราชทานทุนส่วนพระองค์จากพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี ไปศึกษาวิชาสถาปัตยกรรมศาสตร์ ณ มหาวิทยาลัย Ecole de Beaux Arts ประเทศฝรั่งเศสเป็นเวลา 5 ปี กลับเข้ารับราชการที่กรมโยธาเทศบาล ต่อจากนั้น สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ได้ขอยืมตัวไปช่วยงาน มีผลงานออกแบบสำคัญมากมายนอกจากอนุสาวรียชัยสมรภูมิ อาทิ เป็นผู้ชนะแบบอนุสาวรีย์ประชาธิปไตย ซึ่งภายหลังมีการแก้ไขแบบใหม่จนไม่เหมือนแบบเดิม ตึกสันติไมตรีหลังเก่า ศาลาสันติธรรม โรงแรมเอราวัณ (หลังเดิม) ต่อเติมพระตำหนักจิตรลดารโหฐาน ศาลาการแสดง ณ สวนอัมพร ภายหลังลาออกจากราชการ ทำงานส่วนตัวหลายประเภท ก่อนที่จะมีพระบรมราชโองการให้เข้ารับราชการในสำนักพระราชวังในตำแหน่งสถาปนิกประจำราชสำนัก ท่านถึงแก่กรรมเมื่อวันที่ 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2516 สิริอายุได้ 63 ปี

แนวคิดในการออกแบบ เกิดจากแรงบันดาลใจ 5 ประการ คือ การปฏิบัติการของกองทัพทั้ง 4 เหล่าทัพ การปฏิบัติงานอย่างกล้าหาญ อาวุธที่ใช้ในการสู้รบ เหตุการณ์สำคัญที่ต้องเปิดการสู้รบ และความสนใจของประชาชน สัญลักษณ์จึงเป็นรูปดาบปลายปืน ซึ่งเป็นอาวุธประจำกายทหารจำนวน 5 เล่ม ประกอบรวมกัน ตั้งเป็นกลีบมะเฟือง ปลายดาบชี้ขึ้นข้างบน หันส่วนคมออก มีความสูง 30 เมตร หล่อตัน ใช้หินล้างสีเทาอ่อนเป็นผิว ด้วยแนวคิดว่า ดาบปลายปืนนั้น เป็นดาบประจำกายของทหาร เปรียบเสมือนการต่อสู้อันแหลมคมทั้งอาวุธและสติปัญญา การสู้รบด้วยดาบปลายปืนถือเป็นความกล้าหาญ เนื่องจากเป็นการรบในระยะประชิด เมื่อเกิดการตะลุมบอน

ทั้งนี้ อาจารย์ธนู มาลากุล บุตรชายของ ม.ล.ปุ่ม มาลากุล ให้สัมภาษณ์ว่าบิดาท่านน่าจะได้แรงบันดาลใจมาจากพระปรางค์วัดอรุณราชวรารามด้วย เพราะมีคติทางพระพุทธศาสนา และอยู่ในประวัติศาสตร์ การกอบกู้เอกราชของสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช หลังจากเสร็จศึก เรือมาหยุดที่บริเวณวัดแจ้งเวลาเช้าพอดี จึงโปรดฯ ให้สร้างบ้านแปงเมืองขึ้นบริเวณนี้[1] [2]

ตึกระฟ้าในกรุงเทพมหานคร[แก้]

เรียงตามความสูง

ฝั่งพระนคร[แก้]

คิง เพาเวอร์ มหานครโฟรซีซั่น ไพรเวท เรสซิเดนเซสตึกใบหยก 2สเตท ทาวเวอร์ไชน่า รีซอร์สเซส ทาวเวอร์โรงแรมเซ็นทารา แกรนด์ และบางกอก คอนเวนชัน เซ็นเตอร์ แอท เซ็นทรัลเวิลด์เดอะเม็ทเอ็มไพร์ทาวเวอร์จิวเวอร์รี่ เทรด เซ็นเตอร์เดอะ พาโนเซ็นทรัลเวิลด์ ออฟฟิสเศสมิลเลนเนียม เรสซิเดนซ์เอ็ม สีลมแกรนด์ เซ็นเตอร์ พอยท์ ราชดำริสาทรสแควร์อับดุลราฮิม เพลสภิรัช ทาวเวอร์ แอท เอ็มควอเทียร์ เทอร์มินอล 21 อโศกจัตุรัสจามจุรีตึกช้างโรงแรมแมนดาริน โอเรียนเต็ล กรุงเทพอมันตา ลุมพินีวัน แบงค็อกดุสิต เซ็นทรัล พาร์คอาคารซิกส์เซนส์

ฝั่งธนบุรี[แก้]

ไอคอนสยามเดอะ ริเวอร์ ทาวเวอร์ เอธนาคารกสิกรไทย สำนักถนนราษฎร์บูรณะ สินสาธร ทาวเวอร์โรงแรมเพนนินซูล่า

อาคารอนุรักษ์[แก้]

พ.ศ. 2563 - 2564[แก้]

พิพิธภัณฑ์ศิริราชพิมุขสถาน
อาคารมาร์ติน เดอ ตูรส์ โรงเรียนเซนต์คาเบรียล

อาคารที่ได้รับรางวัลอนุรักษ์ศิลปสถาปัตยกรรมดีเด่น ประจำปี 2563 - 2564 ได้แก่[3]

ประเภท ก. งานอนุรักษ์มรดกทางสถาปัตยกรรมและชุมชน

ระดับดีมาก

  1. 1905 เฮอริเทจ คอร์เนอร์ (1905 HERITAGE CORNER) ถนนแพร่งภูธร แขวงศาลเจ้าพ่อเสือ เขต พระนคร กรุงเทพมหานคร
  2. บ้านขุนพิทักษ์รายา ถนนปัตตานีภิรมย์ ตำบลอาเนาะรู อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี

ระดับดี

  1. พิพิธภัณฑ์ศิริราชพิมุขสถาน ถนนวังหลัง แขวงศิริราช เขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร
  2. บ้านหลวงสาทรราชายุกต์ ถนนสาทรเหนือ แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร
  3. บ้านพักขุนวิเชียรพานิช และนางร่าย ประจวบเหมาะ อำเภอเมือง จังหวัดเพชรบุรี
  4. หม่อเส้ง มิวเซี่ยม (The old town Phuket) ตำบลตลาดใหญ่ อำเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต

ระดับสมควรได้รับการเผยแพร่

  1. บ้านหลวงประเทืองคดี อำเภอเมือง จังหวัดพิจิตร
  2. โรงแรมไมอามี่ แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร
  3. อาคารมาร์ติน เดอ ตูรส์ โรงเรียนเซนต์คาเบรียล ถนนสามเสน แขวงวชิรพยาบาล เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร


ประเภท ข. งานออกแบบใหม่ในบริบทการอนุรักษ์

ศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบ
  1. เก๊าไม้ เอสเตท 1955 ถนนเชียงใหม่-ฮอด ตำบลบ้านกลาง อำเภอสันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่
  2. ศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบ (TCDC) ถนนเจริญกรุง แขวงบางรัก เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร


ประเภท ค. บุคคลและองค์กรอนุรักษ์ศิลปสถาปัตยกรรมดีเด่น

  1. ดร.วีระพันธุ์ ชินวัตร

โครงการรถไฟฟ้ามหานครที่ดำเนินงานในปัจจุบัน[แก้]

Update after 29 กันยายน พ.ศ. 2562

เส้นทาง เปิดให้บริการ สถานีปลายทาง ระยะทาง (กิโลเมตร) จำนวนสถานี
แม่แบบ:BTS Lines
(รถไฟรางหนัก)
2547 สถานีเตาปูน
(บางซื่อ)
สถานีท่าพระ
(บางกอกใหญ่)
26.6 km (16.5 mi) 24
2562 สถานีหัวลำโพง
(ปทุมวัน)
สถานีหลักสอง
(บางแค)
14 km (8.7 mi) 10
แม่แบบ:BTS Lines
(รถไฟรางหนัก)
2559 สถานีคลองบางไผ่
(อ.บางบัวทอง)
สถานีเตาปูน
(บางซื่อ)
23.6 km (14.7 mi) 16
รวม 64.2 km (39.9 mi) 49
หมายเหตุ
  • นับสถานีเชื่อมต่อ (เตาปูน/ท่าพระ) เป็นสถานีเดียว

โครงการรถไฟฟ้ามหานครที่กำลังก่อสร้าง[แก้]

เส้นทาง กำหนดเปิดให้บริการ สถานีปลายทาง ระยะทาง (กิโลเมตร) จำนวนสถานี
แม่แบบ:BTS Lines
(รถไฟรางหนัก)
2562 - 2563 สถานีท่าพระ
(บางกอกใหญ่)
สถานีเตาปูน
(บางซื่อ)
ราว 12 km (7.5 mi) 7
bgcolor=แม่แบบ:BTS color | แม่แบบ:BTS Lines
(พหลโยธิน)
(รถไฟรางหนัก)
2562 - 2563 สถานีห้าแยกลาดพร้าว
(จตุจักร)
สถานีคูคต
(อ.ลำลูกกา)
19 km (12 mi) 15
แม่แบบ:BTS Lines
(รถไฟฟ้ารางเดี่ยว)
2564 สถานีศูนย์ราชการนนทบุรี
(อ.เมืองนนทบุรี)
สถานีมีนบุรี
(มีนบุรี)
34.5 km (21.4 mi) 30
แม่แบบ:BTS Lines
(รถไฟฟ้ารางเดี่ยว)
2564 สถานีลาดพร้าว
(จตุจักร)
สถานีสำโรง
(อ.เมืองสมุทรปราการ)
30 km (19 mi) 23
bgcolor=แม่แบบ:BTS color | แม่แบบ:BTS Lines
(รถไฟรางหนัก)
2566 สถานีศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย
(ห้วยขวาง)
สถานีสุวินทวงศ์
(มีนบุรี)
23 km (14 mi) 17

จอดแล้วจร[แก้]

จอดแล้วจร อาจหมายถึง พื้นที่จอดรถสำหรับเดินทางต่อในระบบขนส่งมวลชน ดังต่อไปนี้

อาคารระฟ้าที่ก่อสร้างไม่เสร็จ[แก้]

อันดับที่ ชื่อ ภาพ เขต/อำเภอ จังหวัด ความสูง(เมตร) จำนวนชั้น ปีที่เริ่มก่อสร้าง
1 วอเตอร์ฟรอนท์สวีทแอนด์เรสซิเดนซ์ พัทยา อำเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี

กรุงเทพมหานคร

180 53 พ.ศ. 2556
2 สาธร ยูนีค ทาวเวอร์ เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 185 49 พ.ศ. 2533

อ้างอิง[แก้]

  1. อนุสาวรีย์วีรชน “อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ” ที่หมายแห่งการประสานสามัคคีของพี่น้องชาวไทย
  2. [1]
  3. รางวัลอนุรักษ์ศิลปสถาปัตยกรรม ประจำปี ๒๕๖๓ - ๒๕๖๔
  4. รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล บริการที่จอดรถ